[suanboard monotone logo : 2777 bytes]
[header decor line : 64 bytes]
HOME RULE FAVOURITE MEMBER ZONE REACTIVATE FORGET PASSWORD    

SEARCH [icon freecompose : 217 bytes]
[icon register : 195 bytes] สิทธิพิเศษสำหรับสมาชิก : โพสต์รูป, รูปแบบตัวอักษร, ไอคอน, bookmark, ค้นหาข้อความ ฯลฯ [icon login : 178 bytes]

[icon-delete : 101 bytes]
" การมีงานทำของบัณทิตและเงินเดือนแยกตามมหาวิทยาลัย และรายภาควิชา "
ช่วงนี้น้องๆ ม 6 กำลังอยู่ในขั้นตอนเข้ามหาวิทยาลัย มีข้อมูลการมีงานทำ การศืกษาต่อ และเงินเดือน ของบัณทิตแต่ละสาขาในมหาวิทยาลัยต่างๆมาฝาก อ่านดูแล้วจะตะลืงตืงๆ

ดูข้อมูลนักเรียนสวนกุหลาบที่เข้าเรียนในคณะ สาขาต่างๆปีที่แล้ว ก็ดีใจว่าเลือกกันได้ดี มากๆ เพราะบอร์ดนี้ให้ข้อมูลมาเยอะพอสมควร เยอะมากตะหาก ผู้ทรงคุณวุฒิมากมาย

มหาวิทยาลัยหลายแห่งไม่ซีเรียสทำข้อมูลพวกนี้ให้เป็นเรื่องเป็นราว ชอบมหาวิทยาลัยที่ทำ มีประโยชน์มาก

จะแยกเขียนให้น้องๆสายศิลปะแยกต่างหาก เพราะรักมากเป็นพิเศษ

เริ่มรายการแปะ ค่อยวิเคราะห์ทีหลัง น้องๆที่มีคณะในใจแล้ว เข้าตรวจสอบได้อย่างรวดเร็ว ดูเหมือนพระจอมธนบุรีทำได้ดีกว่าลาดกระบังเรื่องเงินเดือนเฉลี่ย

ลาดกระบัง ปี 2552 ราวรุ่น 127

http://www.kmitl.ac.th/plandiv/plan%20web2/research/work52.pdf

พระจอมเกล้าธนบุรี

http://www.kmutt.ac.th/pd/inoffice/working52.pdf
08 ต.ค. 55 / 17:27
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
view 80406 : discuss 78 : rating - : bookmarked 0 : vote 2 124.121.150.42

#1# - 674340 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] คณะพาณิชย์ บัญชี มธ

http://www.unigang.com/Article/1402
08 ต.ค. 55 / 17:41
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674340 124.121.150.42

#2# - 674341 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 2554

http://www.unigang.com/Article/10241
08 ต.ค. 55 / 17:43
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674341 124.121.150.42

#3# - 674342 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มศว 2552-2553

http://planning.oop.swu.ac.th/Portals/108/download/report/gra-51-52.pdf
08 ต.ค. 55 / 17:57
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674342 124.121.150.42

#4# - 674346 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม ศิลปากร ปีการศืกษา 2552รับปริญญา 2553

http://www.plan.su.ac.th/Research/Databest/job52_2.pdf
09 ต.ค. 55 / 01:00
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674346 124.121.150.42

#5# - 674347 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม ธรรมศาสตร์ รายงานยังอุนอยู่เลย ชี้ระดับเงินเดือนล่าสุดได้

http://www.tu.ac.th/org/ofrector/planning/m1_m6/m1_m62.htm
09 ต.ค. 55 / 01:13
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674347 124.121.150.42

#6# - 674348 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ราชมงคลพระนคร

http://dc.rmutp.ac.th/datacenter/etc/jobmua/29122554.pdf
09 ต.ค. 55 / 01:19
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674348 124.121.150.42

#7# - 674349 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ราชมงคลธัญญบุรี

http://mis.rmutt.ac.th/survey52/questionaire_52.pdf
09 ต.ค. 55 / 01:25
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674349 124.121.150.42

#8# - 674350 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] จาก web เด็กดี รายมหาวิทยาลัย ไม่จำแนกคณะ

http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2122391
09 ต.ค. 55 / 01:33
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674350 124.121.150.42

#9# - 674351 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มกรุงเทพ 2551-2552 ปีนี้เศรษฐกิจดีกว่าปี 2552-2553

http://ireo.bu.ac.th/Exper_853.pdf
09 ต.ค. 55 / 01:38
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674351 124.121.150.42

#10# - 674352 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม กรุงเทพ เพิ่มเติม

http://ireo.bu.ac.th/Exper_853.pdf
09 ต.ค. 55 / 01:46
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674352 124.121.150.42

#11# - 674353 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มม สงขลา


http://www.newswit.com/gen/2012-07-18/36dc157858ebf238729f301ed604b761/
09 ต.ค. 55 / 02:05
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674353 124.121.150.42

#12# - 674354 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] พระจอมเกล้าพระนครเหมือ

มีข้อสังเกตุว่า พระจอมเกล้าทั้ง 3 แห่งรายงานผลการสำรวจได้ชัดเจน กว่ามหาวิทยาลัยอย่างมหิดล และศิลปากร

รายงานฉบับนี้ชัดเจน น่าอ่านมาก

http://www.planning.kmutnb.ac.th/data/BB_2553.pdf
09 ต.ค. 55 / 03:19
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674354 124.121.150.42

#13# - 674355 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] สถาปัตย์ จุฬา

น่าสังเกตุว่าจุฬาไม่มีการเผยแพร่รายงาน ทั้งๆที่เป็นนโยบายการรายงานผลผลิตที่ทุกมหาวิทยาลัยต้องทำ

http://www.manager.co.th/mgrWeekly/ViewNews.aspx?NewsID=9510000127484
09 ต.ค. 55 / 03:35
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674355 124.121.150.42

#14# - 674356 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ปริญญาโท นิด้า อยากให้รู้จัก

https://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:JYbHt9cU_aMJ:news.nida.ac.th/th/images/PDF/%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25AB%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B3_51(www).pdf+%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95+%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESiN72wTH862uXt2htCJKkxwhFKjt6vp9UQg9Jn2LpN_F0A7VHvxji57hGvj5GKH2v0NEQ5ow3zclm0tnQMDdkCM4ca7R_L_B7NY3sWtGIrxOY9AGAqPxVmhq70ivfJTHFC1RveX&sig=AHIEtbQx2MAvLlSW0BZb6nazB1gcNWdw5w
09 ต.ค. 55 / 03:42
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674356 124.121.150.42

#15# - 674357 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] http://news.nida.ac.th/th/index.php?option=com_content&task=view&id=468&Itemid=2
09 ต.ค. 55 / 03:47
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674357 124.121.150.42

#16# - 674358 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] สถาบันเทคโนโลยี่ไทย ญี่ปุ่น

http://www.tni.ac.th/web/th/index.php?option=contents&category=11&id=7
09 ต.ค. 55 / 03:54
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674358 124.121.150.42

#17# - 674359 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ดุสิตธานี

http://www.unigang.com/Article/11501
09 ต.ค. 55 / 04:01
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674359 124.121.150.42

#18# - 674360 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] นั่งดูตัวเลขจริงของรุ่นเข้า 52 จบ 53 หางานทำหลังจากนั้นถืงต้นปี 54 ทำให้ที่คนพูดว่าวิศวะล้นน่าจะไม่จริง วิศวะคุณภาพไม่ล้น ดูได้จากเงินเดือนที่สูงของลาดกระบัง

วิศวะลาดกระบังน่านับถือทีเดียว เงินเดือนเอกชน 20000-40000 เยอะมาก พวกทำราชการ รัฐวิสาหกิจ ก็เงินเดือนตามเกณท์ อัตราการมีงานทำสูง แล้วได้งานเร็วมาก ที่ว่างเยอะน่าจะเป็นวิทยาเขตชุมพร กับทางด้านเทคโนเกษตร ถ้าน้องเก่ง เรียนที่นี่มีโอกาสได้ปริญญาโท ชัวร์ มีรายได้สูง

วิศวะมีหลายสาขามาก หลายสาขาคนไม่ค่อยพูดถืง เมื่อ 2 ปีที่แล้วระดับเงินเดือน 30000-40000 ยังเยอะเลยเช่น วิศวะวัดคุมอีเลกซ์โทรนิกส์ เคมี ก่อสร้างและจัดการ โทรคมนาคม เป็นต้น คณะอื่นๆดูกันเองละกัน ตาลาย

นั่งแอร์พอร์ท ลิงก์บ่อยเห็นหนุ่มหล่อ สาวสวยลาดกระบังเยอะ ดูไบรท์มาก ชอบ

อยากบอกอาจารย์ลาดรายงานนะครับกระบังว่า เที่ยวหน้า ช่วยจำแนก ชั้นรายได้ใหม่นะครับ 7000 -15000 เลิกเหอะ ซอยตั้งแต่ 15000 ขื้นมาจะดีกว่าไหม ติงด้วยความรักและศรัทธา ลาดกระบังนะเนี่ย ชื่นชมรายงานนะจ๊ะ

เด็กสวนที่ไปเข้าเรียนที่นี่ขอให้ภูมิใจ เป็นคนเชื่อตัวเลขน่ะ ไม่เชื่อโฆษณา เลือกสาขาให้ดี
09 ต.ค. 55 / 17:22
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674360 110.169.191.128

#19# - 674361 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มจธ

อย่างเงียบๆ บัณทิต มจธ เข้าทำราชการ รัฐวิสาหกิจปีละเป็น 1000 ขนาดวิศวะ ยังเข้าทำงานเอกชนเพียง 60 เปอร์เซนต๋เอง ในไม่กี่ปี มจธ จะเข้าคุมงานวิศวะ เทคโนโลยี่เกลี้ยง คนเข้าทำราชการ รัฐวิสาหกิจนี่เป็นพวกมองไกลมาก น้องๆเจอรุ่นพี่ที่ไปเรียน มจธ รีบเลี้ยงก๋วยเตี๋ยวซะ เวลาไปติดต่อราชการจะไม่ลำบาก

ได้งานสายนี้เร็วมาก แสดงว่าคอนเนคชั่นดีมาก เพราะมาสายนี้มาก เงินเดือนเริ่มต้นเฉลี่ย จืงต่ำกว่า ลาดกระบัง

สายเอกชนก็มีเงินเดือนสูงเหมือนลาดกระบังแหละ เข้าใจว่าคนที่หางานลำบาก คือ คนที่คะแนนต่ำ สายช่างเป็นส่วนใหญ่ ที่นี่เรียนโทต่อกันมาก คนที่ยังไม่เรียนก็ตั้งใจต่อโทเกินครื่ง มหาวิทยาลัยนี้จะมีอิทธิพลมาก ในอนาคดขอทำนาย เค้าดังหลายเรื่องมาก
ปัจจัยความก้าวหน้าที่เค้าให้ความเห็น คือ อังกฤษ คอม การทำงานจริง และเทคนิกการวิจัย

ชาบู ชาบู เหมือนกัน ปีที่แล้วเข้าไป 35 คน

เอารายงานของลาดกระบังเรื่องแยกชั้นเงินเดือนมาทำบ้าง จะเท่ห์มากกว่าเดิมนะจ๊ะ ทั้งลาดกระบัง และธนบุรีมี osk อาวุโสเป็นนายกสภาอยู่ ป๋าทองฉัตร นายกพระจอมธนบุรี เดิมบ้านอยู่ตรงตืกตรงข้ามประตูจักรเพชรนั่นแหละ ป๋าเดินข้ามถนนก็ถืงโรงเรียนแล้ว

ปีที่แล้วเข้า มจธ 35 คน เยี่ยมมาก
09 ต.ค. 55 / 18:20
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674361 110.169.191.128

#20# - 674362 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ธรรมศาสตร์เกรียงไกร

มธ ไม่พูดอะไร เสนอตารางการมีงานทำ การศืกษาต่อ เงินเดือนเริ่มต้น อยากฟังคำอธิบายคลิกไปที่ คณะพาณิชย์

ที่นิติ และหลายคณะเรียนเนติ เรียนโทกันมาก นั่นเป็นสิ่งที่ดีมาก มหาวิทยาลัยที่ดี บัณทิตต้องเรียนต่อมากๆ

ได้งานเกือบร้อยเปอร์เซนต์ในทุกสาขา เงินเดือนเฉลี่ยสูงมาก กระทั่งรัฐศาสตร์ สังคม สหวิทยาการมีงานหมด สะท้อนถืง

ผลิตไม่มาก คุณภาพดี สังคมเชื่อถือ
เครือข่ายศิษย์เก่ามาก ทั้งบริหาร บัญชี เศรษฐ นิติ ธุรกิจ ราชการ บัณทิตหางานง่าย ตอนแรกมีคนพูดว่า สายวิศวะ เทคโน จะตกงาน ได้งานหมด เครือ
ข่ายท่าพระจันทร์ใหญ่ คุณภาพดี และสอนแนวแอดวานซ์ เช่น วิศวะแนวบริหาร บัญชีแนวไฟแนนซื

ที่นี่โครงการห้าปีเยอะ เรียนเลยจ้า

น้องๆสายศิลปะ ถ้าชอบผู้หญิงสวย เข้าไปเลย

เยี่ยมมากนะจ๋ะ มธ กด ไลค์ 1000 ที
09 ต.ค. 55 / 19:03
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674362 110.169.191.128

#21# - 674363 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม เชียงใหม่ 2553

http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:4UKtb70CrSgJ:www.unigang.com/Article/2713+%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95+%E0%B8%A1+%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88&cd=8&hl=th&ct=clnk&gl=th
10 ต.ค. 55 / 01:04
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674363 110.169.191.128

#22# - 674364 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม นเรศวร

http://www.plan.nu.ac.th/workStd.html
10 ต.ค. 55 / 01:11
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674364 110.169.191.128

#23# - 674365 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม ขอนแก่น

http://plan.kku.ac.th/pln2011/files//05-2555622101524-aniwat-1.pdf
10 ต.ค. 55 / 01:17
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674365 110.169.191.128

#24# - 674366 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม ศิลปากร

สั้นๆ ตรงๆ ศิลปากรทำได้ดีด้านเภสัช มีงานทำ 80 เปอร์เซนต์ มีโรงงานผลิตวัคซีน ผลการสอบก็ดี แต่ยังมีเปอ๋เซนต์การว่างงานสูงกว่ามหาวิทยาลัยอื่น

ที่ทำได้ดี นอกจากนั้น คือ มัณทนศิลป์ 87 สัตวศาสตร์ 72 เทคโนสารสนเทศ 81

คณะที่มีปัญหาการหางาน
คือ จิตรกรรม โบราณคดี ดุริยางค์ วิทยาลัยนานาชาติ อักษร สถาปัตย์
อักษรที่ มศว มีอัตราการได้งานสูงกว่า

ปัญหาของศิลปากร คือ เปิดคณะที่งานขื้นอยู่กับราชการแห่งเดียว เช่น กระทรวงวัฒนธรรม และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีเครือข่ายน้อยทั้งราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน เอาว่าเภสัช ศิลปากรจะขายยาลำบากกว่าเภสัชของมหาวิทยาลัยที่มีคณะแพทย์

รายงานทำได้ดีมาก อ้อ มีข้อสังเกตุว่า รายได้เริ่มต้นที่นี่จะไม่ค่อยสูง

แต่ถ้าคนที่สนใจเฉพาะด้าน รู้ว่าจะทำอะไรต่อ ก็ลุย

สถาปัตย์ที่มีงานมากต้องลาดกระบัง แนว ออกแบบอุตสาหกรรม จุฬาบอกว่า ถาปัดมีงานทำ 75 เปอร์เซนต์ คณะนี้ต้องเลือกมหาวิทยาลัย

ศืกษาศาสตร์ ภาวิช ทองโรจน์ บอกว่า อีก 4-5 ปี จะมีคนจบหนื่งแสน สถาบันต่างๆมีงานรองรับแค่ หนื่งหมื่น คนที่จะเลือกปีนี้ต้องระวัง
10 ต.ค. 55 / 02:12
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674366 110.169.191.128

#25# - 674367 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มศว

รายงานของ มศว เป็นรายงานที่ดีที่สุดฉบับหนื่ง ถ้าไม่ใช่ดีที่สุด มีข้อมูลที่น่าตื่นเต้นมาก หลายเรื่อง

ภาวะการมีงานทำของบัณทิต มศว เป็นเครื่องชี้วัดดีมานด์ในท้องตลาดว่าคณะใดยังมีดีมานด์อยู่ คณะใดไม่ค่อยมีดีมานด์ เนื่องจาก มศว เปิดคณะหลากหลายมาก จืงตอบโจทย์หลายคณะที่เราไม่เข้าใจแหล่งงาน เช่น จิตวิทยา วิทยาศาสตร์การกีฬา ภาษา ศิลปกรรม ครุศาสตร์ อักษรศาสตร์ ท่องเที่ยว สหเวชศาสตร์ อันนี้รวมเทคนิคการแพทย์ กายภาพ และรังสีด้วย

เนื่องจากจุฬาไม่เผยแพร่ทางเนต เอา มศว เป็นดัชนีแทนหลายคณะในจุฬาได้เลย ไว้ไปหยิบมาได้ ค่อยเอามาดูอีกที

น่าสังเกตุว่าบัณทิต มศว ได้งานในระดับสูงกว่าศิลปากร ในสาขามนุษยศาสตร์ และอีกหลายคณะ ทำงานราชการกันมาก รายได้เริ่มต้นจะต่ำกว่ามหาวิทยาลัยด้านเทคโน ที่ทำกับเอกชนมาก เรียกว่าเข้ายืดพื้นที่ราชการวดเร็ว

ดูตารางพื้นที่ทำงานจะเห็นว่า กระจายสู่ต่างจังหวัดมาก

รายละเอียดกดเข้าดูตั้งแต่ตารางที่1 เลย มีประโยชน์มาก

เป็นมหาวิทยาลัยตรบวงจรใหม่ที่ก้าวหน้าเร็วมากๆ

ชื่นชมยินดีด้วย เน้นยืดงานราชการ ตามเทรดิชั่นเดิม

ที่องครักษ์เป็นอย่างไรบ้างไม่เคยเห็น ต้องให้ธนเทพเล่าให้ฟัง

รายละเอียดดูเองนะครับ บางคณะแพงขอบอก แหงมากๆ
10 ต.ค. 55 / 03:15
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674367 110.169.191.128

#26# - 674370 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม เกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยที่มีคณะคล้ายกันอีกกลุ่มหนื่ง คือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพระมีคณะเกษตรที่ใหญ่โตมากทั้งสามมหาวิทยาลัย จืงนำข้อมูลมาเทียบกันเพื่อดูเทรนด์ใหัชัดเจน ถืงแม้จะมีคณะที่สอนเหมือนกัน แต่ popularity ของแต่ละที่ต่างกัน งานของบางคณะมีดีมานด์เฉพาะของภาค ของพื้นที ถ้าเรียนก็ต้องย้ายไปทำงานในภาคนั้น

มีข้อสงสัยเผลการสำรวจการมีงานทำของมหาวิทยาลัยเกษตรว่าน่าจะต่ำกว่าความเป็นจริงไปพอสมควร เพราะตัวเลขปี 54 เก็บจากช่วงรับปริญญาเดือนกรกฏาปี 54

เป็นบัณทิตรุ่นปี 53 จบราวเดือนมีนา ปี 54 บัณทิตมีเวลาหางานเพียง 4 เดือนเอง ในขณะที่มหาวิทยาลัยอื่นๆเก็บข้อมูลกัน 9 เดือนถืง 1 ปีหลังจบ สาเหตุนี้น่าจะเป็นเรื่องหลักที่ตัวเลขการมีงานทำของเกษตรรุ่น 53 ต่ำกว่าสถาบันอื่น เนื่องจากชอบ มก เป็นส่วนตัว อยากให้มหาวิทยาลัยเน้นวิจัยเรื่องนี้อย่างละเอียด และยาวนานพอ

ผลแบบนี้ ทำให้แฟนคลับเซ็ง
10 ต.ค. 55 / 10:44
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674370 110.169.191.128

#27# - 674372 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม เกษตรศาสตร์
http://www.unigang.com/Article/10241

นักเรียนสวนกุหลาบเรียนที่เกษตรปีละร้อยกว่าคน ส่วนใหญ่สายวิศวะ ก็คงมีงานเหมือนกับที่อื่นๆ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ บัญชีก็เช่นกัน

สาขาในณะเกษตรทั้งหมด การแข่งขันหางานสูง เพราะมีคณะเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติในมหาวิทยาลัยภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา แล้วยังมีวิทยาลัยเกษตรกรรมในจังหวัดต่างๆ ปีที่แล้วเด็กสวนคนหนื่งเข้าเรียนโครงการนานาชาติ เกษตรเขตร้อน น่าจะรุ่ง

งานด้านเกษตร shift ตาม value chain ไปสู่ขั้นตอนอื่น ตัวอย่างข้าว มัน อ้อย ที่เน้นการแปรรูป การผลิตเอทานอล คลังสืนค้า การซื้อขาย การประมูล การจัดหาเรือต่างประเทศ การปรับปรุงคุณภาพ การส่งออก การติดต่อราชการ การผสมข้าว เป็นต้น เป็นแหล่งรายได้ที่ใหญ่มาก ยังมีการตลาด การปล่อยสินเชื่อ ต้องอาศัยประสบการณ์มาก ทำในรูปธุรกิจ มีงานมาก เรียนพวกสายวิศวะ บัญชี เศรษฐ สังคมทำได้ เรียนรู้จากบริษัทพืชผลการเกษตร อากง อาเฮีย

งานราชการของ มเกษตร แต่ละคณะจะพื่งกระทรวงเฉพาะ เช่น กระทรวงเกษตร กรมข้าว กรมประมง กรมป่าไม้ ซื่งคนแน่นมาก

น้องๆที่เรียนเศรษฐ การตลาด นิติ บัญชี บริหาร แนวนี้ เดินตามแนวเพื่อนๆที่ มธ จุฬา เรียนโท เนติ นิด้า แล้วจะดีจ้า

ตัวเลขการมีงานทำของเกษตรคลาดเคลื่อน ทั้งปี 53 กับ 54 มหาวิทยาลัยควรให้อาจารย์ไปช่วยทำ ตั้งงบสัก 5 ล้าน เอาไปฝากไว้กับฝ่ายแผน ทำไม่ไหวหรอก นิสิตเยอะมาก

สงสัยเทรนด็อาชีพไหน คณะใด เทียบที่คล้ายกันกับมช มข มอ มะ พระจอมได้เลยจ้า งานนี้มีอัพเดท
10 ต.ค. 55 / 11:28
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674372 110.169.191.128

#28# - 674375 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เกือบจบแล้วครับ ต้องไปทำธุระอื่นหาเงินใช้บ้าง

จุฬา กับมหิดล ไม่มีรายงานเผยแพร่ทางเวบ

เดาว่า ครุศาสตร์มีปัญหาการหางาน เพราะจะเข้าธุรกิจร่วมเก้าสิบเปอร์เซนต์ ต่างจาก มศว ที่เน้นเข้าราชการ

อักษร ปัญหาน่าจะคล้ายกับ มศว เกษตร ตามเทรนด์

เอาว่าได้รายงานแล้วค่อยสรุป พาณิชย์ เศรษฐ นิติ รัฐศาสตร์ ดูเทรนด์ มธ วิศวะ ดูเทรนด์ ลาดกระบัง อักษร ครุศาสตร์ ดูเทรนด์ มศว

มหิดล ไม่มีรายงานออกมา

สุขภาพดูเทรนด์ นเรศวร มช

สังคม มนุษย์ดูเทรนด์ มศว

วิศวะ ดูแนวพระจอมมั้ง

ราชมงคลที่มีชื่อเสียง
เช่น พระนครได้งานมาก ร่วม 80 เปอร์เซนต์ เงินเดือนเริ่ม 20000-40000 มีราว 7 เปอร์เซนต์ของบัณทิต ดูดีกว่าม เอกชน และ มรัฐหลายแห่ง ปรัชญา คือ ปฎิบัติงานได้จริง เกือบ 80 เปอร์เซนต์ต้องการทำโทต่อ ก็รุ่งไปอีกแบบ เป็นแนว technical university ไม่เท่ แต่กินได้

เล็งไว้ถ้าสนใจ เป็นท็อปเทน ของบางที่ดีกว่าเป็น โลว์เทน ของบางที่

ราชมงคลสายวิศวะ มีว่างมากขื้น เช่น ธัญบุรี

ราชภัฎไม่มีรายงาน แสดงว่าไม่เจ๋ง ถ้าเจ๋งตีปี๊บแน่นอน

ม เอกชน มีรายงานที่เดียว คือ มกรุงเทพ มีงานราว 70 เปอร์เซนต์

รังสิต หอการค้า ธุรกิจบัณทิตไม่มีรายงาน เอแบก พูดแนวว่า บัณทิตที่นี่ออกไปเป็นเจ้าของกิจการ ตัวเลขนี้ไม่ฟิต

ไทย ญี่ปุ่น มีงานแน่นอน ได้ทุนโควต้าน่าเรียน
การบิน มีข้อมูลมาฝาก

พิมพ์หน้านี้ | ส่งให้เพื่อน

จบการบินพลเรียนตกงานหรือมั้ย - เรียนอะไร ตกงานน้อย
คำค้น : การบินพลเรียน










ก็คือ... คห.13 ที่บอกว่า

เป็นวิศวะ จบไปคุมช่างอีกที เท่ดีนะ

ส่วนการบินพลเรือนจบไปเป็นช่าง... คือจะตอบให้หูตาสว่างเลยนะคับ

ว่า ที่จบมาเป็นวุฒปริญญาตรี สายการบินจะรับน้อย ยิ่งจบที่เกษตรนะคับ

คนจบก็เยอะ จบมา ก็มานั่งออฟฟิซ ลงมือทำก็ไม่ค่อยจะได้เพราะจบตรี เรียนแต่ทิษฎีการสร้าง แต่การบินทั่วโลก ต้องการ คนที่ลงมือปฏิบัติ ได้จริงๆ ไม่ใช่มานั่งคุมชาวบ้านในออฟฟิซอย่างเดียวผลาญเงินเดือนบริษัท แล้วอีกอย่าง ที่จบจาก ม.เกษตร จะไม่ได้ใบรับรองจาก ICAO นะคับ แต่การบินพลเรือนเค้ามีให้นะค้าบบ พูดง่ายๆ คือ ตลาดการบินทั่วโลกรวมถึงไทย เค้าต้องการ ช่าง ยิ่งมีประสบการณ์เยอะยิ่งดี นะคับ เค้าไม่ต้องการคนนั่งเต๊ะท่าในออฟฟิซทำเท่

บอกตรงๆว่าเปอร์เซนต์คนว่างงานของพวกจบวิดวะการบินมากกว่าช่างเยอะนะค้าบ

เท่ตอนเรียนว่า สาขาที่เรียนเป็นวุฒปริญญาตรี แต่จบมาหางานยากเดินเตะฝุ่น

นี่ก็แย่นะค้าบ

ส่วนสาขาในการบินพลเรือนที่หางานง่ายๆและตลาดต้องการ ก็คือ

ช่างบำรุงอากาศยาน(AMEL) และ ช่างบำรุงเครื่องมือสื่อสารการบิน(CM)

ส่วนแผนกที่เปิดใหม่ วิทยาศาสตร์การบินบัณฑิต อิเลคทรอนิค(AE) อันนี้จบมาเป็นวุฒ ป.ตรี ว.ท.บ. ยังไม่เป็นวิศวะนะคับ หางานค่อนข้างยาก แต่กำลังปรับเปลี่ยนให้เป็นวิศวะที่สามารถทำงานเหมือนช่างได้

ส่วนแผนก AMEL และ CM สามารถ ไปเรียนต่อเป็น ป.ตรี ได้ จบมาก็จะดีมาก เพราะเราเรียนมาแบบช่างแล้วมาเอาความรู้เพิ่มเติม ได้ป.ตรีมาประดับเล่นๆ ได้นะคับ การทำงานยิ่งเหนือกว่า พวกจบจาก วิดวะการบินธรรมดานะคับ

การบินพลเรือนเป็นสถาบันเฉพาะทางการบินโดยเฉพาะ ยังมี ICAO รับรองด้วย เทียบกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวะการบิน เรียนเรื่องสร้างเครื่องบิน เรียนเรื่องเครื่องบินสามารถบินได้อย่างไร

แล้วลองคิดถึงเวลาทำงานนะคับว่า เค้าจะสนใจจะรับคนลงมือเช็ค ซ่อม ดูแล เครื่องบินเป็น หรือ คนที่รู้ว่าเครื่องบินบินได้ยังไง สร้างมายังไง

เป็นคุณ คุณจะรับใครทำงานร่วมกับคุณ?




สรุป นักเรียนที่ไปเข้าเรียนในสาขาที่การแข่งขันหางานสูง แม้จะมีรับทำงาน 50 เปอร์เซนต์ก็ไปได้ ไว้ว่ากันอีกที่
10 ต.ค. 55 / 12:45
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674375 110.169.191.128

#29# - 674376 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ก็อปมา

พิมพ์หน้านี้ | ส่งให้เพื่อน

จบการบินพลเรียนตกงานหรือมั้ย - เรียนอะไร ตกงานน้อย
คำค้น : การบินพลเรียน










ก็คือ... คห.13 ที่บอกว่า

เป็นวิศวะ จบไปคุมช่างอีกที เท่ดีนะ

ส่วนการบินพลเรือนจบไปเป็นช่าง... คือจะตอบให้หูตาสว่างเลยนะคับ

ว่า ที่จบมาเป็นวุฒปริญญาตรี สายการบินจะรับน้อย ยิ่งจบที่เกษตรนะคับ

คนจบก็เยอะ จบมา ก็มานั่งออฟฟิซ ลงมือทำก็ไม่ค่อยจะได้เพราะจบตรี เรียนแต่ทิษฎีการสร้าง แต่การบินทั่วโลก ต้องการ คนที่ลงมือปฏิบัติ ได้จริงๆ ไม่ใช่มานั่งคุมชาวบ้านในออฟฟิซอย่างเดียวผลาญเงินเดือนบริษัท แล้วอีกอย่าง ที่จบจาก ม.เกษตร จะไม่ได้ใบรับรองจาก ICAO นะคับ แต่การบินพลเรือนเค้ามีให้นะค้าบบ พูดง่ายๆ คือ ตลาดการบินทั่วโลกรวมถึงไทย เค้าต้องการ ช่าง ยิ่งมีประสบการณ์เยอะยิ่งดี นะคับ เค้าไม่ต้องการคนนั่งเต๊ะท่าในออฟฟิซทำเท่

บอกตรงๆว่าเปอร์เซนต์คนว่างงานของพวกจบวิดวะการบินมากกว่าช่างเยอะนะค้าบ

เท่ตอนเรียนว่า สาขาที่เรียนเป็นวุฒปริญญาตรี แต่จบมาหางานยากเดินเตะฝุ่น

นี่ก็แย่นะค้าบ

ส่วนสาขาในการบินพลเรือนที่หางานง่ายๆและตลาดต้องการ ก็คือ

ช่างบำรุงอากาศยาน(AMEL) และ ช่างบำรุงเครื่องมือสื่อสารการบิน(CM)

ส่วนแผนกที่เปิดใหม่ วิทยาศาสตร์การบินบัณฑิต อิเลคทรอนิค(AE) อันนี้จบมาเป็นวุฒ ป.ตรี ว.ท.บ. ยังไม่เป็นวิศวะนะคับ หางานค่อนข้างยาก แต่กำลังปรับเปลี่ยนให้เป็นวิศวะที่สามารถทำงานเหมือนช่างได้

ส่วนแผนก AMEL และ CM สามารถ ไปเรียนต่อเป็น ป.ตรี ได้ จบมาก็จะดีมาก เพราะเราเรียนมาแบบช่างแล้วมาเอาความรู้เพิ่มเติม ได้ป.ตรีมาประดับเล่นๆ ได้นะคับ การทำงานยิ่งเหนือกว่า พวกจบจาก วิดวะการบินธรรมดานะคับ

การบินพลเรือนเป็นสถาบันเฉพาะทางการบินโดยเฉพาะ ยังมี ICAO รับรองด้วย เทียบกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวะการบิน เรียนเรื่องสร้างเครื่องบิน เรียนเรื่องเครื่องบินสามารถบินได้อย่างไร

แล้วลองคิดถึงเวลาทำงานนะคับว่า เค้าจะสนใจจะรับคนลงมือเช็ค ซ่อม ดูแล เครื่องบินเป็น หรือ คนที่รู้ว่าเครื่องบินบินได้ยังไง สร้างมายังไง

เป็นคุณ คุณจะรับใครทำงานร่วมกับคุณ?

-----

การที่คนเราตัดสินใจเลือกเรียนที่ไหนแล้ว
ทุกคนก็ต้องการจบแล้วมีงานทำแต่ใครเล่าจะสมหวังกับความต้องการนี้
มีแนวความคิดหนึ่งที่ผมได้รับจากผู้ปกครองที่คุยให้ฟัง
จนผมต้องกลับมาคิดเพิ่มและต้องการบอกต่อให้ท่านได้พิจารณาดังนี้
การที่เราเรียนจบแล้วปัจจัยที่ทำให้เราประสบความสำเร็จโดยมีงานทำ
ประกอบด้วย
1.ความต้องการของตลาดแรงงานว่ามีปริมาณต้องการมากเพียงใด
และปริมาณผู้ที่มีคุณสมบัติมากเพียงใด
ซึ่งเมื่อวิเคราะห์แล้วคนที่มีคุณสมบัติโดยตรงด้านนี้ยังมีไม่เพียงพอกับความต้องการ
ดูได้จากบางตำแหน่งต้องรับคนที่มีคุณสมบัติทั่วไปก่อนและต้องฝึกอบรมเพิ่มจึงสามารถทำงานได้
2.คุณสมบัติของเราเมื่อเทียบกับคนอื่นๆเราอยู่ในลำดับใดของกลุ่ม
ซึ่งถ้าเราพยายามทำคุณสมบัติจนอยู่ลำดับต้นๆอย่างน้อยก็ด้านความรู้(จบไม่เกินที่ 10 ของรุ่น)
ก็อาจสามารถถึงขั้นเป็นผู้เลือกหน่วยงานแทนที่จะเป็นผู้ถูกเลือกจากหน่วยงาน
นั่นก็หมายความว่าท่านมีงานทำหรือไม่ขึ้นอยู่กับตัวท่านเอง
3.การเตรียมตัวในการนำเสนอคุณสมบัติที่พร้อมในการทำงานกับองค์กรนั้นๆ
โดยการเตรียมตัวให้พร้อมเสนอ เอกสารประกอบสมบูรณ์ นำเสนออย่างเป็นระบบให้น่าสนใจ
ประกอบกับคุณสมบัติเด่นด้านอื่นๆก็สามารถประสบความสมหวังได้เสมอ
ซึ่งปัจจัยต่างๆเหล่านี้สถาบันการบินพลเรือนมีให้ท่านแสวงหาพร้อมอบรมสั่งสมอย่างเพียงพอ
ดังนั้นเมื่อเรียนจบจากสถาบันการบินพลเรือนแล้ว
แต่ท่านที่ไม่สามารถสอบเข้าเรียนที่สถาบันการบินพลเรือนได้
ก็ไม่ใช่ว่าจะหมดหวังเพียงแต่ว่าเมื่อเรารู้ว่าองค์ประกอบต่างๆ
เราก็พัฒนาตัวเองให้มีโอกาสแข่งขันกับคนอื่นได้เช่นกัน
ถ้าสถาบันที่เรามีโอกาสได้เรียนไม่ได้เน้นองค์ประกอบเหล่านี้
ผมยังมั่นใจว่าโอกาสท่านมีมากกว่าแน่นอนครับ
โชคดีและสมหวังทุกคนครับ
10 ต.ค. 55 / 12:47
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674376 110.169.191.128

#30# - 674377 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ขอให้ทุกคนประสบความสำเร็จ


ตุลาคม
สอบ GAT-PAT
สอบตรง กสพท วิชาเฉพาะ
สอบตรง เภสัช ศิลปากร รอบที่ 1

พฤศจิกายน
สอบตรง มหิดล
สอบตรง ธรรมศาสตร์
สอบตรง พระจอมเกล้าธนบุรี
สอบตรง ลาดกระบัง หลายคณะ เช่น วิศวะ สถาปัตย์
สอบตรง มอ หลายคณะ
สอบตรง ขอนแก่น

ธันวาคม
สอบตรง เชียงใหม่
รับสมัครสอบ GAT-PAT 2/2556

มกราคม
สอบ 7 วิชาสามัญ

กุมภาพันธ์
สอบ O-NET

มีนาคม
สอบ GAT-PAT 2/2556

เมษายน
รับสมัครแอดมิชชั่น 2554
สอบ เภสัช ศิลปากร บูรพา รอบ 2

พฤษภาคม
ประกาศผลแอดมิชชั่น
รับตรงรอบหลังแอดมิชชั่น บางคณะ บางมหาวิทยาลัย
02 ต.ค. 55 / 22:06
10 ต.ค. 55 / 13:16
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674377 110.169.191.128

#31# - 674379 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] รามคำแหง

http://www.mis.ru.ac.th/policy/pdf/report_analyze2553.pdf
10 ต.ค. 55 / 14:18
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674379 110.169.191.128

#32# - 674380 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ก่อนขื้นเครื่อง ต่ออีกหน่อย

รามคำแหง ความหวังของคนจำนวนมากที่ทุนทรัพย์จำกัด เปลวเทียนให้แสง รามคำแหงให้ทาง

ไม่ได้ค้นว่าคนลงเรียนแต่ละคณะเท่าใด แตจบปี2553iราว 17000

กลมๆ รัฐศาสตร์ จบ 7200 มีงาน 3481 แสดงว่างานสำหรับ ม ปิดยังมี อาศัยทัศนคติ บุคลิก การสื่อสาร การแก้ปัญหา ที่รามมีการติวเข้างานเป็นอุตสาหกรรม คณะนี้จบง่าย

นิติ จบ3800 มีงาน 1430 งานสายนี้ยังมี จบยาก เรียนเนติต่อ โอเค

มนุษย์ จบ 2900 มีงาน 1277 โอเค

บริหารธุรกิจ จบ 2200 มีงาน หนื่งพัน

ศืกษาศาสตร์จบ 479 มีงาน 175

สายที่ได้งานน้อยเทียบกับจบ คือ เศรษฐ วิศวะเทคโนสื่อสาร นานาชาติ ศืกษาศาสตร์ วิทยาศาสตร์

บริหารธุรกิจ ต่ำกว่าครื่ง

สรุแว่า รามจะเป็นคู่แข่งในตลาดงาน รัฐศาสตร์ นิติ มนุษย์ ธุรกิจ ศืกษาศาสตร์ ด้วยผลผลิตบัณทิต 7000 กว่าคน ในสายเหล่านี้

น้อยในคณะเศรษฐ วิศวะ เทคโน นานาชาติ

แต่ถ้าดูการมีงาน ราชมงคลเชั้นบน หางานง่ายกว่ามาก

เป็นกำลังใจให้ทุกคน ทุกมหาวิทยาลัย
10 ต.ค. 55 / 15:44
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674380 110.169.191.128

#33# - 674392 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ปีที่แล้ว นักเรียนสวนกุหลาบเข้าเรียนที่ ,ม แม่โจ้ 1-2 คน

การมีงานทำของแม่โจ้ปี 2554 แยกรายคณะ สาขา

http://www.e-manage.mju.ac.th/survey_RPT_BySurveyType.aspx?level=40&ds=01.06.2554&de=31.05.2555


รายละเอียด

http://www.e-manage.mju.ac.th/survey_AllRPT.aspx
11 ต.ค. 55 / 17:38
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674392 124.122.0.180

#34# - 674393 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เกษตรศาสตร์ 2551 จบปี 2552 สำรวจกรกฎา 2553

,มหิดล น่าจะเวลาเดียวกัน

]http://www.unigang.com/Article/1181
11 ต.ค. 55 / 17:44
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674393 124.122.0.180

#35# - 674394 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เภสัชศาสตร์ 2555 ของ มช สุดยอดมาก ลิงก์มาไม่ได้ ดูตามนี้นะครับ

]
การติดตามผลบัณฑิตเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2555 - คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย ...


www.pharmacy.cmu.ac.th/unit/.../2012-07-06เนื้อหาใหม่-edit.doc
11 ต.ค. 55 / 17:59
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674394 124.122.0.180

#36# - 674395 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] คณะวิชา และสาขาที่เด็กสวนสอบผ่านเข้าเรียนรอบแอดมิชชั่นปี 2554

รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระดับกลาง ประจำปี 2555 "
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย [1010101001] มีผู้ผ่านการคัดเลือกจำนวน : 335 คน (ช:335,ญ:0)

สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2554 จำนวน : 256 คน และปีอื่นๆ : 79 คน

1 46563 นายปรานต์ปราชญ์ เสาวภานันท์ คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาการเมืองการปกครอง พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 2 เลือกสอบวิชาภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0792 2552
2 46633 นายธนภัทร ศุภการัง คณะเศรษฐศาสตร์ศรีราชา สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0296 2552
3 46657 นายนพวิชญ์ วุฒิวรพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1808 2552
4 49199 นายอิสระพงศ์ วงษ์ปิ่น คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 4 ปี สาขาวิชาการบัญชี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0787 2552
5 46961 นายศุภฤกษ์ สานสุขสมบูรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0809 2553
6 47152 นายหฤษฎ์ เพ็งเจริญ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0001 2553
7 47158 นายสุรศักดิ์ ชุติปัญญาภรณ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1281 2553
8 47187 นายเมธัส บัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน สาขาวิศวกรรมโยธา ไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0124 2553
9 47220 นายเกียรติกุล ท่าไว คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 0719 2553
10 47226 นายชุติพนธ์ ทรัพย์วงศ์เจริญ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0065 2553
11 47232 นายรวิน ถกลวิโรจน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรธรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0022 2553
12 47253 นายไพชยนต์ แก้วมณี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0867 2553
13 47256 นายอธิชา อัศวฐิติรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0295 2553
14 47262 นายเริงรัฐ น้อยใจบุญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (โครงการฯ ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0127 2553
15 47271 นายวิโรจน์ ปรีชาพลสิทธิ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0885 2553
16 47291 นายณัฐนพ ธรรมสุพิมล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยมหิดล 1275 2553
17 47297 นายพิชญุตม์ เตือนจิตต์ คณะวิทยาศาสตร์ (พญาไท) มหาวิทยาลัยมหิดล 1262 2553
18 47301 นายก่อกฤษฎิ์ ด่านประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมการบินและอวกาศ และสาขาบริหารธุรกิจ (หลักสูตรร่วมนานาชาติ 2 ปริญญา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0134 2553
19 47302 นายแมนเมธัส จูธารี คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการผลิต (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0295 2553
20 47310 นายณัฐพงศ์ ธีระกุล คณะเภสัชศาสตร์ หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบริบาลเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร 0973 2553
21 47312 นายสุจิตร ชูตระกูล คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาการเมืองการปกครอง พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 2 เลือกสอบวิชาภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0792 2553
22 47314 นายพงศ์สิทธิ์ แสนรุ่งโรจน์ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0008 2553
23 47322 นายวรพงษ์ ภู่ระย้า คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1541 2553
24 47333 นายสัณหวิทย์ แสงรุ่งเรือง คณะสหเวชศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ. 4 ปี) สาขาวิชากายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1425 2553
25 47342 นายณภัทร พูลพิพัฒนันท์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0788 2553
26 47353 นายธนิทธิ อยู่คงดี คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0142 2553
27 47358 นายธรรมสรณ์ อุณหะจิรังรักษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0032 2553
28 47363 นายณัฐวุฒิ แพะเจริญชัย คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0146 2553
29 47379 นายพุฒิพงศ์ เตือนจิตต์ คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหิดล 1285 2553
30 47410 นายปัญญวัชร จารุวัฒนกุล คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยา พื้นฐานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0821 2553
31 47420 นายจิราธิป วสุวัฏฏกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0116 2553
32 47426 นายทศพล พรวิทยา คณะจิตวิทยา (รูปแบบที่ 3) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0035 2553
33 47437 นายศุภณัฐ ปัญจธนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยมหิดล 1279 2553
34 47441 นายพงศธร พิทักษ์ไตรรงค์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0788 2553
35 47443 นายภาณุพัศ ธารีบูรณ์ชัย คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0064 2553
36 47445 นายธัชนนท์ จิรศุภางค์กุล คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0030 2553
37 47455 นายอภินันท์ อินบุญนะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ (การจัดการแหล่งท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2774 2553
38 47458 นายภาคิน กอบสุขศุภลาภ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 4 ปี สาขาวิชาการบัญชี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0787 2553
39 47485 นายปิติพัฒน์ พุฒขาว คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ (ออกแบบแอนนิเมชั่น) มหาวิทยาลัยศิลปากร 1567 2553
40 47498 นายพุฒิพงศ์ จิระอนันต์กุล คณะจิตวิทยา (รูปแบบที่ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0033 2553
41 47499 นายกิตติ์ธเนศ อภิณัฐหิรัญโชติ คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) สอบภาษาจีน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1504 2553
42 47506 นายพงศกร ศุภเวคิน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0067 2553
43 47507 นายอชิตพล จันทร์เจริญพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า แขนงวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 0716 2553
44 47529 นายวรากร ศรีสันติสุข คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1255 2553
45 47536 นายพีร จิรวัฒนรังสี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0030 2553
46 47544 นายพิทวัส วีระนรพานิช คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0125 2553
47 47580 นายสุอัทธา รัตนกิจกมล คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 0494 2553
48 47595 นายอติชาติ เนียมพูลทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0883 2553
49 47598 นายธนวิน ธเนศธนาธร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0885 2553
50 47623 นายธนวิชญ์ กลัดเจริญ คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0245 2553
51 47635 นายกันต์ อัครลาวัณย์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0030 2553
52 47640 นายเอกพัฒน์ ภิญโญ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0065 2553
53 47656 นายคมสัน วงศ์สมมาตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0142 2553
54 47672 นายพร้อมทรัพย์ กาญจนเวชกุล คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0030 2553
55 47710 นายเชาว์วรรธน์ โชคถาวรสกุล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0070 2553
56 47721 นายเจตริน ตระกูลพรายงาม คณะเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0002 2553
57 47734 นายณัฐพล อมรเวชยกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0809 2553
58 47854 นายณัฐสิทธิ์ ชุณหะวัต คณะเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0003 2553
59 47855 นายพศิน ตันติสุวรรณกุล คณะจิตวิทยา (รูปแบบที่ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0033 2553
60 47862 นายพงศกร แซ่เจ็ง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0884 2553
61 47867 นายอวิรุทธ์ ศิริโสภณา คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาวรรณคดี กลุ่มวรรณคดีไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0079 2553
62 47870 นายพิชญ์พงศ์ ภักดีพันธุ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0686 2553
63 47875 นายพีรพล อนันตวราศิลป์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0116 2553
64 47879 นายชานนท์ ปิ่นน้อย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0121 2553
65 47881 นายศุภธัช เมฆรังสิมันต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0021 2553
66 47888 นายสิทธิโชค กัลยารัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า+ไฟฟ้าสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล 1277 2553
67 49267 นายวัฒนา เตียรณบรรจง คณะทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทอร์น 3274 2553
68 49268 นายสิรภพ จงอานนท์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0151 2553
69 49271 นายยศสรัล เตียวโชคตระกูล คณะเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 0539 2553
70 49274 นายพงศกร กุลดิลกชัย คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1485 2553
71 49280 นายกานต์กันต์ ตาระกา คณะนิติศาสตร์ มธ.ศูนย์ลำปาง พื้นฐานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0782 2553
72 49282 นายทัตพงศ์ รัตนะโสภณชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0021 2553
73 49283 นายดาวัต กิตติธรรมวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0019 2553
74 49285 นายสุเทพ ดงหลง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0885 2553
75 49297 นายวรฉัตร อุ่นหัตถประดิษฐ์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0145 2553
76 49319 นายศิลป์ศรุต เกตุหลิน คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5 ปี) สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1492 2553
77 49325 นายนพภล สุขเกษม คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหิดล 1285 2553
78 49341 นายอรุณ สกุลเรืองโรจน์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป มหาวิทยาลัยศิลปากร 1554 2553
79 49356 นายกรวิชญ จันทราช คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0810 2553
80 04812 นายทีปกร ศตกุลพัชร คณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 0527 2554
81 47365 นายณัฐพงศ์ ก่อวณิชกุล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์-มัลติมีเดีย (วท.บ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0697 2554
82 47576 นายพรพล ธนสุวรรณธาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ (ออกแบบแอนนิเมชั่น) มหาวิทยาลัยศิลปากร 1567 2554
83 47920 นายณภัทร กาญจนวงศ์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0011 2554
84 47993 นายวสัน เกียรติปริทัศน์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0690 2554
85 47995 นายอิษวัต ไชยนันทน์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0148 2554
86 47997 นายกิตติคุณ ชาติรักษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0869 2554
87 47998 นายธนากร สุวรรณากรรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2055 2554
88 47999 นายปีใหม่ สวัสดิ์ธนวณิชย์ คณะโบราณคดี สาขาวิชามนุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร 1520 2554
89 48000 นายชยุต วงศ์กลธูต คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0067 2554
90 48001 นายณัฐวัฒน์ ธีระชาญณรงค์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0125 2554
91 48003 นายปรมินทร์ แก้วมา คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0273 2554
92 48004 นายจามรเทพ จรูญศักดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล กาญจนบุรี สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 1267 2554
93 48008 นายธนัท นิภานันท์ คณะนิติศาสตร์ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0046 2554
94 48009 นายธนโชติ สุวรรณเวชทิพย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน สาขาวิศวกรรมโยธา ไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0124 2554
95 48010 นายนราวิชญ์ ธนาวงศ์วัชร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0679 2554
96 48014 นายปารณัท ศักดิ์สุภาพชน คณะวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0009 2554
97 48016 นายธีรพงษ์ วิชานานนท์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0032 2554
98 48021 นายเจตวัฒน์ สิทธิผลวนิชกุล คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0151 2554
99 48024 นายเมธาวี แสงชัน คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาสถิติประยุกต์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1842 2554
100 48029 นายพีร์ โตโพธิ์ไทย คณะทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1260 2554
101 48037 นายไตรย ต่อศรีเจริญ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0029 2554
102 48039 นายปริญญา รัชดาทิตย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0120 2554
103 48040 นายวโรดม คชกิจจารักษ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0236 2554
104 48042 นายชัชวิน ปาสุวรรณ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หลักสูตรนานาชาติ (SIIT) วท.บ. (เทคโนฯ สารสนเทศ-วิทยาการคอมฯ) รูปแบบ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0908 2554
105 48045 นายกฤษภณ ศุภสมุทร คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1565 2554
106 48047 นายเขมะพัฒน์ บุญธนทัต คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน สาขาวิศวกรรมโยธา ไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0124 2554
107 48049 นายปราชญา ชีวนรสุชากุล คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0143 2554
108 48050 นายธนิน ขำเชิดชูไชย คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0788 2554
109 48055 นายกฤตธี เอวาสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0252 2554
110 48058 นายกฤษฎางค์ ครองวิริยะภาพ คณะสหเวชศาสตร์ สาขาวิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0007 2554
111 48063 นายภัทรพงศ์ คงปราโมทย์ คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (มจพ.ปราจีนบุรี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 0749 2554
112 48065 นายปรวีร์ ชัยวิรัตนะ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0011 2554
113 48067 นายพีรพันธุ์ โลจนานนท์ วิทยาลัยการบริหารและจัดการ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1849 2554
114 48069 นายธนิยะ คุ้มพันธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0885 2554
115 48071 นายวิชญ์พัชร เก็งทอง คณะทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1260 2554
116 48072 นายฌานชน มงคลคำนวณเขตต์ คณะมนุษยศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาภาษาตะวันออก-ภาษาเขมร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1454 2554
117 48073 นายภาณุวิชญ์ คงเหลือสิน คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาการท่องเที่ยว เลือกสอบวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0084 2554
118 48076 นายธนัตถ์ ทรัพย์รวงทอง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาการระหว่างประเทศ เลือกสอบภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 0553 2554
119 48081 นายชวรงค์ ใจหาญ วิทยาลัยสหวิทยาการ มธ.ศูนย์ลำปาง พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0912 2554
120 48082 นายคีตกานท์ สายอรุณ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการชุมชน มหาวิทยาลัยศิลปากร 1562 2554
121 48085 นายสันติภาพ ศิลารักษ์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0285 2554
122 48086 นายธนภัทร กาญจนพยัฆ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0147 2554
123 48087 นายจิรภัทร ตุ้มกลีบ คณะประมง สาขาวิชาประมง (สาขาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0071 2554
124 48089 นายวิชญ์พล พงศ์สิทธิชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการบรรจุ เทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0235 2554
125 48090 นายธนทัต มนูญสัมฤทธิ์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0065 2554
126 48091 นายภาคิน ฉายสำรวย คณะวิทยาศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ. 4 ปี) สาขาวิชาสถิติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1435 2554
127 48092 นายวราวัฒน์ คชกิจจารักษ์ คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1489 2554
128 48093 นายณภัส นุตสติ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0070 2554
129 48094 นายณัฐศรัณย์ จีรานุโกศล คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศพื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0044 2554
130 48095 นายวิศรุต รวีสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์เชิงวิทยาการคอมพิวเตอร์ (โครงการปกติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 0728 2554
131 48098 นายธนบูรณ์ เชียงปิ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยบูรพา 1032 2554
132 48099 นายไพรัชต์ วรรณวิทยาภา คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0278 2554
133 48101 นายรัฐนริศร เทพกุญชร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาเอกออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1876 2554
134 48104 นายฐิติพันธ์ ปั้นแตง คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0288 2554
135 48105 นายรชต เถลิงสุข คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป มหาวิทยาลัยศิลปากร 1554 2554
136 48107 นายวุฒิภัทร เพชรสว่าง คณะอักษรศาสตร์ สาขาวิชาอักษรศาสตร์ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0041 2554
137 48110 นายธนพล โกมลรัตนเสถียร คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาสถิติประยุกต์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1842 2554
138 48115 นายณัฐภัทร อัตเศรณีย์ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0286 2554
139 48122 นายณัฐกล ฉัตรเรืองกมล คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0039 2554
140 48123 นายขจรณัฐ หวาง คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0146 2554
141 48126 นายพิภัช กาญจนารักษ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 5 ปี (ท่าพระจันทร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0790 2554
142 48128 นายสุประวีณ์ นิลประเสริฐ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1273 2554
143 48130 นายรัชชานนท์ เกรียงวิทยา คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการเงิน (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0281 2554
144 48134 นายนัสวิน จันทร์ผง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2710 2554
145 48140 นายณัฐชนน คงธนเฉลิมพร คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1317 2554
146 48142 นายธนกร ทรงธรรมากุล คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0264 2554
147 48148 นายปฐมพงษ์ อัสดรพรพิเชียร คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการโฆษณาและการสื่อสารการตลาด มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2801 2554
148 48155 นายณัฐพันธุ์ สุขคันธรักษ์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0110 2554
149 48157 นายพีรพัศ สุพรรณศรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยมหิดล 1275 2554
150 48158 นายปราชญา ชนะสงคราม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0268 2554
151 48163 นายอิทธิเชษฐ์ เอื้อกชกร สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (4 ปี) สาขาเศรษฐศาสตร์ (ภาคภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1513 2554
152 48166 นายชยทัต ทับสุวรรณ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0030 2554
153 48167 นายปรัชญา เอี่ยมยิ่งพานิช คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการ วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0272 2554
154 48171 นายณัฐดนัย นิลจำรัส สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หลักสูตรนานาชาติ (SIIT) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0906 2554
155 48173 นายวรัญชิต เชยกลิ่นเทศ คณะการแพทย์แผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 3414 2554
156 48177 นายกฤดิภูมิ นิติธนาภัทร คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0145 2554
157 48178 นายสรวิศ กฤษณรักษ์ปาณี คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0294 2554
158 48181 นายคณุตม์ เตชวุฒิกร สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หลักสูตรนานาชาติ (SIIT) วท.บ. (เทคโนฯ สารสนเทศ-วิทยาการคอมฯ) รูปแบบ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0908 2554
159 48184 นายกวิน เอื้อกิตติโรจน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0682 2554
160 48186 นายกันต์กวี เกียรติ์กรัณย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0669 2554
161 48187 นายชวัลวิทย์ รักษพล คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0273 2554
162 48189 นายพิพัฒน์ จิตทีปกร คณะอุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการบรรจุ เทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0235 2554
163 48190 นายภานุพงศ์ เลิศธนธรรม คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรสถิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0031 2554
164 48191 นายพีรพัศ ลิ้มธรรมมหิศร คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0111 2554
165 48193 นายชยุต เสริมสกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0809 2554
166 48194 นายศุภวัฒ มรกตอัมพร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบ 1) มหาวิทยาลัยศิลปากร 1572 2554
167 48198 นายกฤษณ์ กาญจนไวกูณฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0117 2554
168 48200 นายปัณณวิชญ์ เฟืองทอง สถาบันสมทบวิทยาลัยการชลประทาน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0135 2554
169 48203 นายจักรพล ลี้เจริญพงศ์ คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5 ปี) สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1483 2554
170 48205 นายนนทพัทธ์ คุณสาระ คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0249 2554
171 48206 นายกิตติ ชาญชลยุทธ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0860 2554
172 48211 นายภัทร ไหลสุพรรณวงค์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0125 2554
173 48212 นายต้นเฟิน แซ่ก๊วย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0809 2554
174 48215 นายกมลพล ตู้จินดา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หลักสูตรนานาชาติ (SIIT) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0906 2554
175 48217 นายภูริณัฐ โพธิ์สวัสดิ์ คณะโลจิสติกส์ สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ (แบบที่ 1) มหาวิทยาลัยบูรพา 1095 2554
176 48222 นายภควัต กิจสิริการ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0068 2554
177 48223 นายรุสดี วันทอง คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0290 2554
178 48225 นายธนรักษ์ กล่ำแสง คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0693 2554
179 48227 นายกิตติธัช เสือสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1428 2554
180 48230 นายพงศ์สุเมธ สุภาภัทรานนท์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 4 ปี สาขาวิชาการบัญชี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0787 2554
181 48231 นายกฤติน ประกายรุ้งทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มไฟฟ้า (วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1806 2554
182 48235 นายวราศัย ยงค์วงศ์ไกรศรี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0030 2554
183 48243 นายรัชชานนท์ วาริชวัฒนะ คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0249 2554
184 48244 นายวศิ ตันศราวิพุธ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร 1517 2554
185 48251 นายดนตร์ ภุขันอนันต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอัตโนมัติ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0687 2554
186 48257 นายปกชาติ อรุณเนตรทอง คณะบริหารธุรกิจ-บพิตรพิมุข จักรวรรดิ สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 2097 2554
187 48258 นายศรัณย์ บุษราคัมตระกูล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0021 2554
188 48259 นายสาธิต จิรไพศาลกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0250 2554
189 48260 นายนิธิชาญ สิรภัทรพงศ์กุล คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ สาขาวิชาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 0759 2554
190 48262 นายเชิดชนินทร์ ฤทธิ์ธาอภินันท์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0143 2554
191 48263 นายธรรศ ตันเสถียร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0679 2554
192 48264 นายศุภรัชต์ เจียมอมรรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0012 2554
193 48265 นายกิติคุณ ผดุงม่วงทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1273 2554
194 48272 นายอัณณพ เกตุโชติ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2710 2554
195 48273 นายเอกชัย พ่วงแสนสุข คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยมหิดล 1278 2554
196 48276 นายกษิดิศ เจริญไทย สำนักวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1377 2554
197 48278 นายกณต์ธร สุทธจินดา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยมหิดล 1278 2554
198 48279 นายชนะบดิณทร์ ชลชาติตระกูล คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบริหารธุรกิจญี่ปุ่น สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น 3506 2554
199 48287 นายวรวิช ผดุงศิลป์ไพโรจน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0252 2554
200 48288 นายตัถย์ ลลิตวจีวงศ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0895 2554
201 48291 นายกิตติพงษ์ เอื้ออนันต์ตระกูล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1273 2554
202 48292 นายกัณฑวัชร์ ปุระวัฒน์ คณะมนุษยศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (4 ปี) สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา (รูปแบบ 2) สอบวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1475 2554
203 48295 นายบุญเอนก ตันเจริญ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ (การจัดการแหล่งท่องเที่ยว) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2774 2554
204 48296 นายธิเบต ล้ำคุณากร คณะเกษตร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0061 2554
205 48297 นายวีรวัฒน์ เอี่ยมวิจารณ์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น 3505 2554
206 48301 นายสิทธิโชค น้อยสี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0025 2554
207 48303 นายฐานวัฒน์ พรมิ่งมาศ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0113 2554
208 48305 นายชยานันต์ จันทร์สมบูรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 0518 2554
209 48306 นายสมมนัส แพรกทอง สถาบันสมทบวิทยาลัยการชลประทาน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา-ชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0135 2554
210 48307 นายกวี สุธีกุล สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หลักสูตรนานาชาติ (SIIT) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0906 2554
211 48310 นายนพรัตน์ เจริญศรีสมบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0018 2554
212 48311 นายวิทู แสงพิทักษ์ สำนักวิชาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1368 2554
213 48314 นายชิษณุชา ตั้งคุณสมบัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต วิทยาเขตบางเขน (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0133 2554
214 48319 นายสันตวัฒน์ พรหมรินทร์ คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0078 2554
215 48320 นายอาชาน ณธันยพัต สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร หลักสูตรนานาชาติ (SIIT) วท.บ. (เทคโนฯ สารสนเทศ-วิทยาการคอมฯ) รูปแบบ 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0909 2554
216 48327 นายกุลธร อัศวพาณิชย์เจริญ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 4 ปี สาขาวิชาการบัญชี (ศึกษาที่ศูนย์รังสิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0787 2554
217 48331 นายสุชาติ ตั้งนิมิตโชค คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยา (สาขาจิตวิทยาคลินิก) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0154 2554
218 48337 นายสุประวีณ์ ธนาศรีสวัสดิ์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0064 2554
219 48341 นายสุประวีณ เอกจิตต์ คณะนิติศาสตร์ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0046 2554
220 48342 นายสุประวีณ์ ชูมงคลรัตน์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1570 2554
221 48344 นายพีรณัฐ ธนาวิศิษฐกุล คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (4 ปี) สาขาวิชารัฐศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) พื้นฐานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1500 2554
222 48349 นายพิทยุตม์ เสกธีระ คณะเกษตร สาขาวิชาเกษตรเขตร้อน นานาชาติ วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0063 2554
223 48350 นายณภัทร เกตุนวม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0032 2554
224 48352 นายสุจิรัชย์ อัฏฐะวิบูลย์กุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1428 2554
225 48353 นายพีรพล กาญจนขันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0052 2554
226 48358 นายนนทพัทธ์ ศรีพงษ์กุล สำนักวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1377 2554
227 48361 นายชัชชล จูประเสริฐพร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม (หลักสูตร 5 ปี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2049 2554
228 48365 นายวิทยารัฐ พวงงาม คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0142 2554
229 48367 นายธนภาค วราสุธนกุล คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) สอบภาษาจีน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1504 2554
230 48368 นายพรรษวัชร์ วรมิศร์ คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.4 ปี)สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1487 2554
231 48372 นายโสพัชร สุวรรณโชติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0117 2554
232 48374 นายเอกชัย วชิรดำรงไชย คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 3044 2554
233 48381 นายศุภวิชญ์ มีรักษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (พลังงาน เศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0683 2554
234 48382 นายธนพล สุขอิ่ม คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1485 2554
235 48387 นายศุภณัฐ แต่งเจริญสุข คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0125 2554
236 48396 นายวงศ์ธวัช อัครพันธ์กุล คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาการจัดการ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0269 2554
237 48400 นายปกรณ์ จันทร์โพธิ์ศรี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรสถิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0031 2554
238 48401 นายชัยวัฒน์ กนิษฐเสน คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1836 2554
239 48402 นายภาสวร เมฆพุก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (โครงการฯ ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0127 2554
240 48404 นายคณิน เจริญรัศมีเกียรติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0125 2554
241 48405 นายกฤติน ลภนโชติ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0146 2554
242 48409 นายภูมิภาค พงษ์เกตุกรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0681 2554
243 48410 นายพันธุ์ณรงค์ ศรีนะภาพรรณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0023 2554
244 48411 นายสิปปนนท์ วิชชุตเวส คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1431 2554
245 48413 นายสิรภพ ศริพันธุ์ คณะเกษตร สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0061 2554
246 48418 นายจิรเมธ สิงคารวานิช คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0078 2554
247 48420 นายรติพงษ์ กิตติวิริยะวงษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยมหิดล 1278 2554
248 48422 นายปราโมทย์ วงศ์คำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยมหิดล 1278 2554
249 48423 นายเอกธนัช ทองอุไรพร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0029 2554
250 48424 นายมฆวัน อัจฉริยผดุง วิทยาลัยนานาชาติ กลุ่มวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา 1100 2554
251 48426 นายสุวิจักขณ์ สำราญสุขรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาสถิติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0873 2554
252 48429 นายพศิน โตสวัสดิ์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสินค้าแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2067 2554
253 48430 นายก่อเกียรติ ตั้งตระกูลสมบัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอัตโนมัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1818 2554
254 48437 นายชาญชัย เรืองสินวัฒนา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ค.อ.บ. 5 ปี) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0698 2554
255 48444 นายพีระพงศ์ หนูพรหม คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2871 2554
256 48446 นายรชฏ เลิศศิลป์เจริญ คณะวิศวกรรมศาสตร์กำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0252 2554
257 48450 นายชนกานต์ สุขสิริทรัพย์กุล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1255 2554
258 48453 นายธนานันท์ เกียรติสำรอง คณะอุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการบรรจุ เทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0235 2554
259 48454 นายกุลพัฒน์ ตรองพาณิชย์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0018 2554
260 48457 นายศตายุ ตันธนะสาร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0004 2554
261 48459 นายภานุวัฒน์ โตลานุวัตร คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาสถิติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0691 2554
262 48461 นายคณินพัฒน์ พลสุธรรม์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0144 2554
263 48462 นายศุภวุฒิ ภัทรจินดานุวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1428 2554
264 48473 นายอธิษฐ์ เผ่ากันทรากร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0021 2554
265 48477 นายนนท์ ทรัพย์มั่นคงทวี คณะวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0009 2554
266 48481 นายวัชรพร ยิ้มรุ่งฤกษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (ระบบไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์กำลังและพลังงาน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0684 2554
267 48483 นายนภนันท์ สิงห์สม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 1021 2554
268 48564 นายสุรกานต์ ชัยเพชร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยทักษิณ 0634 2554
269 48565 นายบรรพต มุมกระโทก คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (โครงการสมทบพิเศษ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 0744 2554
270 48566 นายอานนท์ วิศวกิจเจริญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0670 2554
271 48567 นายพุฒิพงศ์ ฟางศรีสุนันทา คณะโบราณคดี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร 1521 2554
272 48568 นายสิรภพ เสือทองคำ คณะนิติศาสตร์ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0046 2554
273 48569 นายคามิน ปวีรวัฒน์ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0693 2554
274 48570 นายสันติภาพ กนิษฐสวัสดิ์ คณะเกษตรกำแพงแสน สาขาวิชาเกษตรศาสตร์(กีฏวิทยา โรคพืช ปฐพีวิทยา พืชสวน พืชไร่นา ฯลฯ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0238 2554
275 48572 นายชวลิต หล่อประสงค์สุข คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยบูรพา 1032 2554
276 48574 นายปาณัสม์ ตรีรัศมีพร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0710 2554
277 48577 นายพชร คุ้มพงษ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0150 2554
278 48585 นายบัณฑูร ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาบริหารธุรกิจ (วิทยาเขตจันทบุรี) มหาวิทยาลัยบูรพา 1109 2554
279 48592 นายปรัชญา สุขขาวพงศ์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ-การจัดการอุตสาหกรรม (ศูนย์กลาง นครราชสีมา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 2195 2554
280 48593 นายณุพงศ์กฤศ ธนาวัฒน์โสภณ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศิลปากร 1555 2554
281 48594 นายธณัชพงศ์ รวีโรจน์ธนาดุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต (โครงการฯ ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0128 2554
282 49359 นายจิรัตถ์ พรหมรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0874 2554
283 49360 นายสิรวิชญ์ มณีเนตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน สาขาวิศวกรรมโยธา ไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0124 2554
284 49362 นายณัฐภัทร โอภาสวรกิจจา คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0148 2554
285 49364 นายวริทธิ์ แสงทอง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาภาพยนตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ (รูปแบบที่ 1) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2878 2554
286 49367 นายธรรศ อาภาศิลป์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0143 2554
287 49995 นายสุรสินธุ์ ตั้งธนาเกียรติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 1760 2554
288 50001 นายณัฐนันท์ อมรสมานลักษณ์ คณะเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1259 2554
289 50002 นายคมชาญ รามัญอุดม คณะวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิทยาเขตบางเขน (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า อุตสาหการ เครื่องกล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0125 2554
290 50012 นายกิตติภพ ไตรสินสมบูรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0021 2554
291 50013 นายกิติภณ ทองไพบูลย์ คณะสัตวแพทยศาสตร์-ทุ่งใหญ่ สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 2150 2554
292 50021 นายสุวิทย์ คณานุกูล คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การประมง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1830 2554
293 50022 นายสงกรานต์ หงส์รัตนวิจิตร คณะเกษตร สาขาวิชาเกษตรเขตร้อน วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0062 2554
294 50024 นายดิลกธรรม สิชฌรังษี คณะอุตสาหกรรมเกษตร (เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการบรรจุ เทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0235 2554
295 50025 นายประเสริฐ แพร่จันทร์ศรี คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0152 2554
296 50029 นายนรเศรษฐ์ เกษารัตน์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0146 2554
297 50033 นายทิวัตถ์ คงวิเชียรวัฒน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร 1517 2554
298 50034 นายสุทธินัย แสงมาลี คณะวิทยาการสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา 1066 2554
299 50035 นายธนกร ธนกรเกษมศรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0018 2554
300 50036 นายวีรภัทร ทรงอาวุธ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาคพิเศษ) วิทยาเขตกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0266 2554
301 50038 นายวรินทร โฆษิตกิตติวณิชย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ภาคภาษาอังกฤษแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TEPE) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0890 2554
302 50043 นายธนดล อัครวิลาส คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอัตโนมัติ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0687 2554
303 50045 นายพีรเชษฐ์ ชาติศิริวัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0021 2554
304 50054 นายภูริภัทร วรรณฤดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0685 2554
305 50056 นายคณิน ตั้งจิตติพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 0670 2554
306 50058 นายภูเบศ แก้วธรรม คณะเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกษตร วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0057 2554
307 50059 นายกิตติพศ วาจาขจรฤทธิ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรควบบัญชีบัณฑิตและบัญชีมหาบัณฑิต (บูรณาการ) 5 ปี (ท่าพระจันทร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0789 2554
308 50061 นายศาตรา อุทัยโรจนรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา (หลักสูตร 5 ปี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0139 2554
309 50063 นายเกียรติศักดิ จันทระวิชะ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 1897 2554
310 50066 นายสิทธิพจน์ พงษ์แพทย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยบูรพา 1034 2554
311 50067 นายพิชญภูมิ จินตกานนท์ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0146 2554
312 50068 นายณัฎฐ์นภัส เวียงเกตุ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 0424 2554
313 50070 นายเจริญ วิกรานต์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0004 2554
314 50073 นายธนภัทร จารุเจตรังสรรค์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงิน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0064 2554
315 50075 นายนันทพงษ์ สว่างศรีบรรเทิง คณะการสื่อสารมวลชน พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 0599 2554
316 50076 นายรณชัย หลักคำ คณะพลศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ. 4 ปี) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1507 2554
317 50085 นายต้นเรือ อ่อนศรี คณะโบราณคดี สาขาวิชาโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 1518 2554
318 50087 นายศุภเสกข์ มาตา คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1320 2554
319 50088 นายณัฐวัสส์ ศรีโสภาพ คณะนิติศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 2 เลือกสอบวิชาภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0778 2554
320 50089 นายปธานิน ชัยสุวรรณ สำนักวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1377 2554
321 50091 นายสัณห์สิษฐ์ ตังสุรัตน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2710 2554
322 50096 นายกฤชฎา อายุยืน คณะอักษรศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบ 2 (เลือกสอบวิชาภาษาฝรั่งเศส) มหาวิทยาลัยศิลปากร 1525 2554
323 50099 นายอานันท์ ธุระเจน คณะสังคมศาสตร์ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ (บริหารงานยุติธรรมฯ) ภาคพิเศษ สอบวิชาภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0209 2554
324 50100 นายภัทรวิศฎ์ โชติช่วง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบ 1) มหาวิทยาลัยศิลปากร 1572 2554
325 50102 นายคุณานนต์ แก้วทอง คณะสังคมศาสตร์ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ (การปกครอง) ภาคพิเศษ เลือกสอบวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0200 2554
326 50103 นายพุฒิเมธ ประสิทธิ์วัฒนะกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 1 มหาวิทยาลัยบูรพา 1032 2554
327 50104 นายระพีพล แซ่อึ้ง คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาการเมืองการปกครอง พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 2 เลือกสอบวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0795 2554
328 50105 นายยุคลเดช แซ่อึ้ง คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบที่ 2 เลือกสอบวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0807 2554
329 50107 นายชาญกิจ สุขสงวน คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0037 2554
330 50108 นายพิษณุ อุ่นเจริญ คณะสังคมศาสตร์ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) เลือกสอบวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 0174 2554
331 50109 นายอัมรินทร์ บัวอิ่ม คณะมนุษยศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ. 4 ปี) สาขาวิชาภาษาตะวันออก-ภาษาเขมร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 1454 2554
332 50111 นายคณาวุฒิ ครุฑนางรอง วิทยาลัยราชสุดา สาขาวิชาล่ามภาษามือไทย (พื้นฐานศิลปศาสตร์) เลือกสอบวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยมหิดล 1295 2554
333 50118 นายธีร์ เทียนธีระโชติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง สาขาสถาปัตยกรรมเพื่อการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พื้นฐานศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 0903 2554
334 50764 นายวริศร์ ศิริโสม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยมหิดล 1278 2554
335 50766 นายชนะพล รอดไฝ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0029 2554

ที่มา :: http://admission55.tk/
ขอแสดงความยินดีกับน้องๆทุกคนที่สอบผ่านด้วยครับ :)
10 พ.ค. 55 / 19:36 0 0 Phoenixs_Wings@OSK127 (965) : n/a : n/a : n/a
11 ต.ค. 55 / 20:22
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674395 124.122.0.180

#37# - 674405 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ลองวิเคราะห์มหาวิทยาลัยมหิดล โดยใช้ข้อมูลใน34 เปรียบเทียบกับผูสำเร็จการศืกษาตามนี้

http://www.op.mahidol.ac.th/oraa/information_curriculum.html

มหิดลเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นวิจัย ดูเหมือนอาจารย์จะชอบสอนปริญญาโท จืงเป็นมหาวิทยาลัยที่สอนปริญญาโทมาก คณะที่สำคัญ คือ
กายภาพบำบัด ทันตแพทย์ แพทย์เภสัช วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ เช่น ประชากรศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ การจัดการ นานาชาติ เห็นนักศืกษาเอเซียเยอะ และสิ่งแวดล้อม

น่าสังเกตุว่า น่าจะมีผู้ไม่จบการศืกษาจำนวนหนื่งหรือเปล่า เช่น ทันตะ ผู้จบปริญญา 103 จบ ประกาศนียบัตร ถืง 71 อือม์หรือเราเข้าใจอะไรผิด ช่วยท้วงนะครับ ถ้าผิด

เนื่องจากขาด Full Report เลยเอาตัวเลขปีไกล้ๆกัน มาเทียบกัน ผู้จบการศืกษา กับผู้มีงานทำ สไตล์ของมหิดลกับเกษตรคล้า คือ เอาใบมาแจกนักศืกษาให้กรอกวันรับปริญญา ไม่มีการ follow แต่พอเห็นเทรนด์

คณะทีได้งานมาก คือ

กายภาพ น่าจะเป็นข้าราชการในจ่างจังหวัด เป็นส่วนใหญ่ หรือโรงพยาบาลต่างจังหวัด จบ 84 มีงาน 60

เทคนิคการแพทย์ จบ 157 มีงาน 126 มองเงินเดือนเองนะครับ ใครว่าเทคนิคการแพทย์ไม่มีงาน ที่ซิ่วเพราะอยากเป็นหมอ หรือเภสัชมากกว่า ในโรงพยาบาล มันก็ขี่ๆ โชว์พาวกันทุกที่ี

เทคโนสารสนเทศ จบ 163 ได้งาน 49 ราว 30% มหิดลไม่ค่อยดังเรื่องนี้ เข้าคณะที่วิศวะดังๆดีกว่า เครือข่ายก็ไม่ค่อยมี

พยาบาล มีงาน 100%จบตั้ง 276 คน

แพทย์รามาจบมางานเพียบ มีงานแทบหมด ศิริราชตามหลัง

เภสัช จบ 138 มีงาน 71 เข้าใจว่าจะเรียนต่อเป็นผู้เชี่ยวชาญกัน มหิดลเค้าออกแนวหนักวิชาการ

วิทยาจบ 232 มีงาน 139 เข้าใจว่าจะเรียนต่อมาก ใครเลือกเรียนวิทยาเตรียมต่อโทเลย

วิศวะ จบ 354 ได้งาน 118 ราว 33% เรียนต่อราว 60 มหิดลขาดเคือข่ายด้านธุรกิจวิศวกรรม ราชการ และธุรกิจอื่น พรรคพวกรุ่นเดียวกันช่วยเพื่อนหน่อยละกัน

ศิลปศาสตร์ น่าที่งมากมีงานทำทั้งหมด จบน้อยราว 70-80 สังคม มนุษย์ก็เหมือนกัน จบ 17

คณะที่ได้งานราวครื่งหนื่ง
สัตวแพทย์ ที่อื่นเขาร่วม80% หรือเวลาสำรวจสั้นไป ทีลาดกระบัง เกษตรมากกว่านี้

สาธารณสุข จบ258 ได้งาน 170 สาขานี้งานราชการเป็นหลัก ขื้นอยู่กับอัตราว่าง

สิ่งแวดล้อม จบ 71 ได้งาน 11 เรียนให้มันเชี่ยวสักด้าน เช่น สิ่งแวดล้อม เรื่องขยะ น้ำท่วม ฝน ป่า รถติด ไปเรียนเศรษฐ วิทย์ ลอจิสติกส์ ที่มันเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ไม่มีที่รับคนด้านสิ่งแวดล้อมมาก ตัวเลขของบางมด วิทยา จุฬา ก็ชัดว่างานน้อยมาก ต่อให้ปริญญาโท เรียนเป็นอาจารย์ โอเค ลองนืกว่ามีหน่วยงานใดรับบ้าง

การจัดการ ได้งานหมด

ดุริยางคศิลป์ จบ 169 บวก 89 มีงาน 36 งานยามาฮ่า ครูดนตรี เป็นครู เล่นดนตรี เปิดโรงเรียน เปิดผับ แต่งเพลงขาย ทำแกรมมี่ รายได้ดูไม่แน่นอน

ศาสนศืกษา จบ41 ได้งาน 22 วิเคราะห์งานไม่ถูก เป็นมัคทายก กรรมการวัดธาตุทอง ดี ไม่เข้าใจงาน

นานาชาตื จบ 437 มีงาน 167 หรือว่าคนเรียนวิทยาลัยนี้ที่มหิดล ศิลปากร รังสิต ฐานะดีอยู้แล้ว ที่มีงานทำเงินเดือนสูงเว่อร์ แต่ที่ได้งานมีน้อยทุกมหาวิทยาลัย คณะนี้แพง แต่ถ้ามีธุรกิจอยู่แล้ว คุ้ม
12 ต.ค. 55 / 09:20
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674405 124.122.0.180

#38# - 674454 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เกษตรศาสตร์ ปี 2551

http://www.suanboard.net/view.php?kid=68522&p=view
15 ต.ค. 55 / 02:42
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674454 124.121.73.54

#39# - 674468 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 2551 อธิการบดี ท่านเป็นอดีตคณบดี วิศวะ ด้วย ปีหน้าจัด job fair ให้สนั่นไปเลย

http://www.planning.ku.ac.th/planning/downloads/information_manager/work/work_index.htm
16 ต.ค. 55 / 14:01
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674468 110.168.3.67

#40# - 674687 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ม อุบลราชธานี

http://www.ubu.ac.th/ubu_center/content.php?cpage=document&content=0300000000&cat=252
03 พ.ย. 55 / 11:20
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 674687 124.121.198.104

#41# - 675461 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] lสวนกุหลาบ 2555-2556 รายงานความก้าวหน้า

http://www.suanboard.net/view.php?p=view&kid=68691
27 ม.ค. 56 / 18:54
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 675461 171.97.172.188

#42# - 676696 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] บัณทิตใหม่ในตลาดแรงงานปี 2557 สวนกุหลาบ

นักเรียนสวนกุหลาบรุ่นปี 2552 คงเรียนจบกันหมดแล้ว ยกเว้นคนที่เรียนหมอ ทันตะ หรือสถาปัตย์ น่าสนใจว่าคณะ สาขา และมหาวิทยาลัยที่พวกเขาเลือกเรียน สอดคล้องกับตลาดแรงงานหรือไม่

เรียนวิศวะ 125 คน ส่วนใหญ่เรียนที่จุฬา พระจอมธนบุรีอันดับสองราว 20 คน นอกนั้นก็กระจายไปทั่ว เงินเดือนวิศวะเฉลี่ยอยู่ที่25000 บวกค่าภาษา 5000-10000 บวกโบนัสราว 4-6 เดือน บวกโอที น่าจะมีรายได้รวมเดือนละสี่- ห้าหมื่น สถิติการมีงานทำล่าสุดของลาดกระบัง และ มธ มีงานทำแทบทั้งหมด

ที่น่าประทับใจ คือ มหาวิทยาลัยอย่างสามพระจอมจัดงาน jobs fair กันบ่อย มีบริษัทไปรับสมัครงานถืงมหาวิทยาลัยเกินร้อยบริษัท วิศวะคอมพ์ อักษร จุฬาก็จัด

สูตรคือ ถ้าคุณทำได้ในลำดับที่300 คนแรกของสาขาที่คุณเรียน รุ่งแน่นอน
ผู้หญิงที่เรียนวิศวะมีปัญหาเรื่องหางาน และสถานที่ทำงาน

ปีที่ผ่านมา เกษตร พระจอมเพิ่มจำนวนรับ และสาขาใหม่มากขื้น เทไปที่เกษตรและพระจอมมากขื้น วิศวะแยกย่อยได้เป็น 45 สาขานะครับ มหาวิทยาลัยเดียวสอนได้ไม่หมด เงินเดือนเฉลี่ยพอๆกันทุกมหาวิทยาลัย แต่บริษัทที่ไปรับสมัครจะต่างกัน ปูนใหญ่ ปูนกลาง ปูนเล็กไปรับถืงที่ทุกมหาวิทยาลัย สายการบิน ธนาคารก็เหมือนกัน

เงินเดือนเริ่มต้นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่ราชมงคลต่ำกว่าที่จุฬา มธ พระจอมทั้งสามแห่งค่อนข้างมาก แต่อัตราการมีงานทำสูงเกือบ 90% เน้นว่าเฉพาะมทร เขต กทม ครับ

คนที่จะเข้าเรียนวิศวะต้องระวัง อัตรารีไทร์สูง 25% วิชาฟิสิกส์ที่จุฬาตกกันครื่งชั้น ที่พระนครเหนือรีไทร์ ร่วม 60% คนที่เรียนจุฬา ห้ามสบตากับสาวอักษร บัญชี รัฐศาสตร์ นิเทศน์ เดินคิดเรื่องสูตรฟิสิกส์เข้าไว้

ม นเรศวร บัณทิต70 % เข้ามาทำงานใน กทม บัณฑิต มช ส่วนใหญ่ทำงานในพื้นที่ภาคเหนือ เพราะนักศืกษาเป็นโควต้าภาคแทบทั้งหมด

ยังไม่เห็นรายงานของมหิดล แต่คาดว่าไม่มีปัญหา อาจารย์ต้องช่วยจัด jobs fair บ่อยๆ

นักเรียนสวนกุหลาบรุ่นนี้ แยกไปเรียนบัญชี บริหารธุรกิจ การจัดการ เศรษฐศาสตร์เกือบ 120 คน จุฬา มธ ปีหลังๆมีเกษตรเยอะ บัญชีมีงานทำหมด ด้านอื่นๆก็ด้วย สาขานี้ยิ่งมีประสบการณ์ เกิน 5 ปี ไปแรง ถ้าเข้าทำงานบริษัทยักษ์ใหญ่ของฝรั่ง สองสามปีก็มีเงินไปเรียนนอกได้แล้ว

วิชาชีพแนวบัญชีเนี่ย มีมาตรฐาน เรียนเอแบค ภาษาดีก็ดังเยอะ สาวๆคอนแวนต์ มาแตร์ สตรีวิทย์มาสายนี้กันเยอะมาก อยากดูรายงานของ ม หอการค้าไทยทำย่อมาก น่าจะทำรายงานฉบับเต็มนะครับ

เข้าไปเรียนแพทย์ 51 ทันตะ 13 สายสุขภาพด้านอื่นๆ ร่วม 80 คน

เงินเดือนน่าจะอยู่ใกล้ 50000 แต่เรียนนานมาก คนที่สุดยอดไม่ใช่หมอ แต่เป็นเจ้าของเครือโรงพยาบาลที่จบวิทยาศาสตร์มา พวกคริสเตียน ถ้าจะเอาต่างชาติเข้ามารักษาอีก 3 ล้านคนตามแผน งานของสายนี้จะเยอะขื้น วันนี้คุยเรื่องหาเงินใช้ของน้องๆอย่างเดียวนะครับ

จริงๆแล้วสถิติบอกว่ามีอีก 55 อาชีพที่รายได้ดีกว่าเรียนหมอ เหนื่อยน้อยกว่า สบายกว่า ระยะหลังนักเรียนเก่งๆเรียนพวกนี้ได้ หันไปเรียน bba บริหารกันเยอะ มาแตร์ อัสสัมคอนแวนท์ อัสสัมศืกษามาสายธุรกิจหมด นักเรียนบางคนบอกว่า ถ้าทำงานเรียนหนัก เท่าหมอสิบปี สร้างธุรกิจรวยไปแล้ว

เทคโนโลยี่สารสนเทศ 14 คน งานเยอะเหมือนกัน แต่ควรเรียนเอาประกาศผู้เชี่ยวชาญอะไรสักอย่าง

เหมือนๆกับประกันภัยที่ต้องสอบ soa 10 ระดับ มีงานของบริษัทยักษ์ใหญ่ระดับโลกหลายสิบบริษัท

รัฐบาลจะทำ digital economy บอกแผนกำลังคนหน่อยน่าจะดี

สถาปัตย์ ออกแบบ ตกแต่ง 30 คณะนี้เลือกถูกสาขาไปโลด

นิติศาสตร์ 24 แม้ว่าจะมีคนเรียนกันมาก คุณเรียนให้ได้ top 300 ของปีนั้นก็ไปได้แล้ว รัฐศาสตร์ก็เหมือนกัน ไม่เห็นมีใครตกงานสักคน

วิทยาศาสตร์ 44 ไปถูกสาขาไปแรงมาก แต่ต้องตั้งองค์กรเป็นแบบหมอปราเสริฐ

ผมเคยสงสัยว่าคนที่เรียนนิเทศ 21 คนเนี่ยจะตกงานหรือเปล่า พอตามดู มีคนตั้งบริษัทไปเรียบร้อย ธุรกิจนี้มีมูลค่าสองแสนล้านบาท คนที่จะเรียนต้องทำเป็นเช่นทำหนังสือเป้น ชอบตัดต่อ ชอบทำละคร ชอบพูด ทำอะไรขื้นยูทูป มาแล้ว แต่งเพลงได้ อยากทำห้องอัด เรียนแล้วรุ่ง ไม่ใช่วิชาท่องแล้วนะครับ ชอบหาโฆษณาไรงี้

อีกร่วม 60 คนไปเรียนอะไรแปลกๆที่คนรุ่นผมคิดไม่ถืง วันก่อนเห็นมีประกาศหาล่ามญี่ปุ่นเดือนละสองแสนใน alumni พวกไปเรียน thai nichi คิดถูก สงสัยว่าเขาไปเรียนดุริยางค์ทำไม เพราะเขาจะทำธุรกิจดนตรี คนไปเรียนเรื่องการบิน ปรากฏว่างานเพียบ

ผู้ที่จบไทย ญี่ปุ่น ดุสิตธานี การบินพลเรือน สายกีฬาเป็นเรื่องความถนัด ความสามารถส่วนบุคคลห้ามเลียนแบบ

ผู้ที่ไปเรียนมหาวิทยาลัยเอกชน งานค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว งานภาคเอกชน โอกาสความสำเร็จไม่ต่างจากมหาวิทยาลัยรัฐ เป็นเรื่องความสามารถเฉพาะบุคคล และครอบครัว


โลกทุกวันนี้ การวางแผนของเด็กรุนใหม่ทุกวันนี้ เปลี่ยนจนตามไม่ค่อยทัน

แสดงว่าอาจารย์แนะแนวเก่ง พวกรุ่นพี่ๆแนะนำดี

ขอให้บัณฑิตใหม่ทุกคนประสบความสำเร็จนะครับ
23 ก.พ. 59 / 10:44
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676696 171.96.170.203 <= 171.96.170.203

#43# - 676698 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ตัวเลขรายชื่อผู้สอบเข้าเป็นตัวเลขรอบแอดมิชชั่น รอบรับตรง กสพท ไปแล้วเป็นจำนวนมาก เกินครื่ง
24 ก.พ. 59 / 02:11
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676698 171.96.170.203 <= 171.96.170.203

#44# - 676727 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] สวนกุหลาบสร้างคนคุณภาพให้ชาติต่อเนื่อง ในหลากหลายอาชีพ เพราะคนแต่ละคนมีpassion มีความถนัดต่างกัน เราต้องการส่งเขาสู่จุดสูงสุดในแต่ละอาชีพ เหมือนศิษย์เก่าที่ประสบความสำเร็จต่างๆ ในความเป็นจริงที่เกิน90%ของบัณทิตมหาวิทยาลัยเข้าสู่โลกธุรกิจ
-สร้างคนขื้นเป็นผู้บริหารระดับสูงในบริษัทยักษ์ใหญ่ของประเทศ 1000บริษัท เช่น โตโยต้า ซีพี การบิน PwC สำนักกฏหมาย ชการช่าง บีทีเอส รถไฟฟ้า การบินไทย เทสโก้ โลตัส แกรมมี่ บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ 500 แห่ง ปตท การไฟฟ้า
- สร้างคนไปเป็นผู้สร้างธุรกิจเข้าตลาดหลักทรัพย์ มีบริษัทในตลาด 50 แห่งที่ศิษญ์เก่าสร้างขื้น
- สร้างคนออกไปเป็น Ceo เจ้าของธุรกิจส่วนตัว ซื่งทำกันได้สำเร็จมากมาย กระจายในทุกจังหวัด ตั้งแต่โรงพยาบาลเอกชน รีสอร์ท อัญมณี อาวุธ ภัตตาคาร ร้านอาหาร ธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก ส่งออก ธุรกิจพลังงาน เป็นเจ้าของโรงงาน ธุรกิจการบิน ปั๊มน้ำมัน บริษัทอสังหาริมทรัพย์ ค้าชายแดน น้ำประปา ธุรกิจบันเทิง โทรทัศฯ์ บริษัทไอที โทรคมนาคม บริษัทรถยนต์ โรงไฟฟ้า เหล็ก แว่นตา ห้างสรรพสินค้า บริษัทหลักทรัพย์
- สวนกุหลาบสร้างคนออกไปเป็นนักวิชาชีพ เช่น วิศวกร สายบัญชี ไฟแนนซ์ กฏหมาย แพทย์ปีละมากๆ แพทย์รุ่นละร้อยกว่าคน รวมทั้งที่จบ6 จากโรงเรียน จบเตรียม มหิดลวิทย์ ด้านอื่นๆปีละ125 โดยเชื่อว่าทำในสิ่งที่ดีที่สุด แล้วดีเอง
- ผู้บริหารจุฬา มหิดลยุคนี้เป็นศิษย์เก่าสวนกุหลาบเยอะมาก
-แต่เราก็ต้องการให้นักเรียนของเราที่เหมาะสมเติบโตเป็นผู้ว่า นายกอบจ ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ ผู้บริหารกระทรวงต่างๆ รัฐมนตรี อธิบดีด้วยเพราะเป็นเทรดิชั่นของเรา หลายคนจะออกไปเป็นดารา นักร้อง พิธีกร เจ้าของรายการโทรทัศน์ เวบไซท์ ดีทั้งนั้นแหละ ทหาร ตำรวจก็มี ชอบความดังนิดนุง
สวนกุหลาบมีศิษย์เก่าชั้นแนวหน้าในทุกวงการ เราเชื่อว่ามีหลายร้อยอาชีพที่คนประสบความสำเร็จ และอยู่ได้สบายๆ ต้องการทุกกระทรวงมิใช่เพียงงานกระทรวงสาธารณสุข
- นักเรียนสวนกุหลาบไปได้ทุนคิงที่เตรียมปีละ 3 ทุนมาเป็นสิบปี ไปเข้ามหิดลวิทย์ได้มากเป็นอันดับหนื่งมาเป็นสิบปี ได้ทุนกันเยอะ ที่สวนกุหลาบก็ได้ทุนคิง ทุนโอลิมปิก ทุนญี่ปุ่น ทุน กพ กันเยอะ เราหวังว่าพวกเขาจะเป็นนักวิืทยาศาสตร์ หมอ อาจารย์ที่ดี ประสบความสำเร็จ แต่เราก็เชื่อว่านักเรียนจากพื้นที่บริการ พิเศษ จะประสบความสำเร็จในธุรกิจ ห้องธรรมดาจะรวย และดังในอาชีพต่างๆ
-สุดท้าย สวนกุหลาบดังทั้งในด้านกฏหมาย องค์กรวิทยาศาสตร์ คมนาคม เกษตร อุตสาหกรรม การคลัง การเงิน พาณิชย์ การต่างประเทศ มิใช่หมออย่างเดียว โรงเรียนนี้จืงหลากหลาย และการช่วยกันเป็นทีมจะสร้างความสำเร็จให้ทุกคน
07 มี.ค. 59 / 17:02
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676727 171.96.171.142 <= 171.96.171.142

#45# - 676802 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของนักเรียนสวนกุหลาบห้องหนื่ง ปี 2558 "
เมื่อปีที่แล้วนักเรียนหลายๆห้องรวบรวมผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยขื้น fb เอามาให้ดูหนื่งห้อง จาก 7-8 ห้อง ถ้าห้องเกทก็จะมีหมอเยอะ ห้องนี้เป็นห้องสายแมท ที่น่าสนใจคือการมองโอกาสความก้าวหน้าในสายอาชีพที่เปลี่ยนไปทุกปี

นักเรียนในห้องเยอะ ตั้ง 52 คน มากกว่าโรงเรียนสาธิตหนื่งเท่า แต่ทำกันได้ดีนะ เข้าใจว่าติดรับตรงหมด

แพทย์ 6
วิศวะ จุฬา 15
บัญชี จุฬา 6 > lสายบัญชีมาแรง อนาคตรายได้เดือนละเป็นล้าน
วิทยาศาสตร์ จุฬา 3
สถาปัตย์ จุฬา 2
เศรษฐศาสตร์ อินเตอร์ จุฬา 2
เศรษฐศาสตร์ ภาคไทย จุฬา 2
เภสัช จุฬา 1
วิศวะ ชีวการแพทย์ มหิดล 1
คณิตศาสตร์ ประกันภัย มหิดล 1
เทคโนโลยี่ สารสนเทศ มหิดล 1 อนาคตรายได้เดือนละเป็นล้านเหมือนกัน
วิศวะ เกษตร 6
วิทยาศาสตร์ เกษตร 1
วิศวะ ลาดกระบัง 2
วิศวะ มจธ 1
วิศวะ SIIT มธ 1
บัญชี 5 ปี มธ 1

________________________

สรุป แพทย์ 6
วิศวะ 26
บัญชี 7
เภสัช 1
วิทยาศาสตร์ 6
สถาปัตย์ 2
เศรษฐศาสตร์ 4
----------------------------------------------------
แยกมหาวิทยาลัย

ลาดกระบัง 2
มจธ 1
จุฬา 31
เกษตร 7
มหิดล 3
ธรรมศาสตร์ 2
แพทย์หลายที่ 6 จุฬา มหิดล มศว ขอนแก่น รังสิต
13 เม.ย. 59 / 19:27
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676802 171.96.170.36 <= 171.96.170.36

#46# - 676806 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ห้องประเภทติดรับตรงมากมีราว 7 ห้องจาก 12 ห้องที่เหลือต้องแอดมิชชั่น ที่น่าสนใจคือ
คณะวิทยาศาสตร์สายวิทยาการคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ เคมี ธรณีวิทยาชวการแพทย์ ที่เลือกอนาคตดีมาก
วิศวกรรมที่เก่งมีความต้องการมาก แค่ระบบรางก็ราว 400000คน
คณิตประกันภัย รายได้สูงมาก คนเก่งมีน้อย มีสอบเทียบเอาเซอร์ระดับอินเตอร์
ความต้องการนักบัญชี นักเศรษฐศาสตร์ที่เก่ง รายได้จะสูงกว่าเรียนแพทย์

โรงเรียนนี้เรียนวิศวะเยอะมาก ทั้งจุฬา มธ พระจอม
13 เม.ย. 59 / 19:39
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676806 171.96.170.36 <= 171.96.170.36

#47# - 676927 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] รายได้และการมีงานทำของบัณทิต ลาดกระบัง เยี่ยมมาก
"
การมีงานทำของบัณฑิตจากสถาบันเทคโนโลยี่เจ้าคุณทหารลาดกระบัง KMITL ปีการศืกษา 2555

สวนกุหลาบมีความผูกพันที่ลืกซื้ง ยาวนานกับสามพระจอม ศิษย์เก่าสวนกุหลาบที่จบ U Top ของโลกแห่กันไปเป็นอาจารย์ที่ลาดกระบังช่วงปี 2530 ตั้งแค่นั้นลาดกระบังมีคะแนนสอบเข้าตีคู่กับจุฬา นักเรียนสวนกุหลาบไปเรียนกันมาก ต่อมหาวิทยาลัยระดับโลกกันมากเช่น MIT จบมาก็บุกเบิกงานวิศวกรรมต่างๆ ทำงานเป็นผู้บริหารระดับสูงในบริษัทต่างๆในตลดหลักทรัพย์บริษัท top 1000 ออกมาเปิดธุรกิจกันใหญ่โต รวยมาก นายกสภาลาดกระบังคือ พลเอกสุรยุทธ จุลานนท์ OSKเมื่อลาดกระบังมีปัญหาเงินหาย 1500 ล้าน เราจืงเป็นอันหนื่งอันเดียวกับลาดกระบัง ช่วยทวงเงิน 55

เด็กสวนไปเรียนที่พระจอมธนบุรีมากพอควร ศิษย์เก่าเป็นอาจารย์กันมาก นายกสภาคือ ดร ทองฉัตร หงส์ลดารมภ์OSK ผู้กอตั้ง ปตท และตำนานวิศวกรรมมากมาย ที่พระจอมพระนครเหนือมีศิษย์เก่าไปสอนโยธา ไฟฟ้ากันมาก

เราจืงเชี่ยวชาญและอินไซด์การเรียนต่อวิศวกรรมาก ปีหนื่งๆเรียนวิศวะร่วม200 ยังไม่รวม IT อื่นๆ
=============================

พศ 2552 เราเขียนรีวิววิเคราะห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่พระจอมเกล้าธนบุรี เป็นเอกสารเชิงแนะแนวการศืกษาต่อให้นักเรียนม 6 สวนกุหลาบ แล้วบอกว่า highly recommended ปีนั้น มจธ ติดอันดับโลกของ TIMES ด้วย ติดด่อเนื่องมาทุกปี เน้นโครงการอินเตอร์ ทุนเรียนดี วิศวะ และเทคโนสารสนเทศ อยู่ฝั่งธนนี่เอง สบาย ของดีเลิศใกล้บ้าน ของดีคะแนนไม่ต้องเยอะ แพทย์กสพท ค่าเรียนถูก คนสมัคร 20000 แพทย์รังสิตคนสมัคร 3000 เพราะค่าเรียนสี่ล้าน สวน - มจธ ได้ดีเงินเดือนหลายแสนเยอะมาก เหรียญโอลิมปิกระดับชาติก็เรียนที่นี่ เด็กสวนมาเป็นแชมป์ SIT Code Challenge ต่อเนื่องมา 5-6 ปีแล้ว จะขอใช้แลบเทรนเด็กโอลิมปิกก็มาขอใช้ที่นี่แหละ ซาบซื้งนะครับ จบมาทำงานใหญ่โตมาก

เราวิเคราะห์สาขาวิชาที่เปิดสอนของสถาบันเทคโนโลยี่เจ้าคุณทหารลาดกระบังในรายละเอียด แล้วบอกว่า highly recommended เหมือนกัน บอกด้วยว่าสองมหาวิทยาลัยนี้ จบมามีงานทำเพียบ

แปะของพระนครเหนือด้วย ว่ากำลังเปลี่ยนแปลง จะมาแรง ภาคโยธา หุ่นยนต์

ที่ไหนมีอาจรย์พอเปิดหลักสูตรปริญญาเอก เชื่อถือได้ พระจอมสามแห่งผลิตวิศวะปีละ 3500 เกษตร 1000 จุฬา 700

เปรียบเทียบสาขาวิชาด้าน science tech ของมหาวิทยาลัยต่างๆด้วย โลกกว้างขื้นเยอะ
======================

วิธีดูมหาวิทยาลัย เพื่อจะส่งนักเรียนเข้าเรียน จะดูจาก

หนื่ง การมีงานทำและรายได้ของบัณฑิต ของแต่ละคณะ รายสาขาวิชาย้อนหลังหลายปี เหมือนวิเคราะห์หุ้น
สอง จำแนกสาขาย่อยของคณะต่างๆเช่น วิศวะมีตั้ง 45 สาขา แพทย์มี 35 สาขา เรียนผู้เชี่ยวชาญไปได้ 83 สาขา ไม่มีมหาวิทยาลัยใดสอนได้ครบ เลือกสาขาที่รุ่งที่สุดของทุกสถาบัน

สาม ดูแนวโน้มเทคโนโลยี่โลก ที่เรียกว่า Technology Trend. 2030. มหาวิทยาลัยใดเปิดบ้าง ยุคต่อไปเป็นยุคของ Finn Tech Cloud ระบบราง การขนส่งทางอากาศ ชีวการแพทย์ 3D printing internet of things พลังงาน แบตเตอรี่ โรงงาน 3.0 -4.0

สี่ ดูการจดทะเบียนและการเพิ่มทุนของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ SET และ MAI ประเภทธุรกิจที่ลงทุนเพิ่ม ชี้ความต้องการกำลังคนในอนาคตในสาขานั้น จบมามีงานทำแน่นอน ทำshort employment modelling

ห้า ดูแนวโน้มโครงการที่ภาครัฐจะลงทุน ดุการเคลื่อนย้ายทุนจากต่างประเทศ ว่าจะเข้ามาบูมสาขาใด

หก ดูดีมานด์ ซัพพลายการผลิตคนของมหาวิทยาลัย และความต้องการใช้จริง มองแนวโน้มในภาพรวม ดีมานด์มาก ซัพพลายน้อย รายได้สูง

เจ็ด เข้าไปดูรายชื่ออาจารย์ คุณวุฒิ งานวิจัย มีเปิดสอนปริญญาเอกไหม รายชื่อ partner university
แปด นั่งรถไปดูมหาวิทยาลัย ดูหน้าตาเด็กหนุ่มสาว ดูอาจารย์ ว่าออร่าดีมั้ย กินเหล้าเยอะหรือเปล่า มันไม่ดี จู๋จะเหี่ยว เปลืองตังค์ ระบบโซตัสงี่เง่าเกินไปไหม

วิเคราะห์ตามแนวแมคคินซี่. บริษัทชื่อดังของโลก
----------------------------------------------------
ลาดกระบังเน้นเป็นสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี่แนว Caltech เน้นทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ ธุรกิจมาจองตัวกันเยอะ ไม่ต้องเปิดjob fair

สิ่งที่ขาดคือคณะพาณิชย์ บัญชีที่จำเป็นในการเอาบริษัทเข้าตลาดหลักทรัพย์ เลยแนะนำน้องๆไปว่า เรียนจบแล้วควรมาเรียน MBA ต่อ และถ้าจะขื้นสายบริหาร ปริญญาโทจำเป็นมาก จบแล้วมาต่อโทด้านนี้ที่จุฬา ธรรมศาสตร์ นิด้ากันมาก

ไปนอกก็ดีมาก อยากให้ได้ต่อโท90%ของรุ่น จืงต้องเน้นเรียนให้ได้เกียรตินิยม หรือ 3.0

เขียนเรื่องสายวิศวะ เทคโนโลยี่ไม่ยาก เพราะเพื่อนสมัยมัธยมไปเรียนกันครื่งรุ่น รวมๆแล้วตอนนี้น่าจะมีalumni วิศวะถืง 20000

เรียนมันทุกที่ ทั้งจุฬา เกษตร พระจอม ธรรมศาสตร์ มหิดล ยุคหลัง ไปมช ขอนแก่น สงขลา ลำบาก เพราะมีโควต้าภาค ราชมงคลก็มีบ้าง

คนที่จบลาดกระบังมาสร้างธุรกิจของตนเองเยอะ เป็นเจ้าของกิจการ เป็น MD เพียบ
------------------------------------

ลาดกระบัง

รายงานฉบับนี้เป็นของบัณฑิตรุ่นปี 2555 ล่าสุดทีเดียว หางานแป๊บเดียว มีงานทำแล้ว 82% ที่ มจธ 85% พระนครเหนือก็ราว 85% เอาว่า ถ้าจะทำงานมีงานหมด

เงินเดือนเฉลี่ยวิศวะอยู่ที่ 25000 บังไม่รวมโอที สวัสดิการ โบนัส รวมแล้วน่าจะได้ 50000 งานj0b fair บริษัทมากันเยอะ เกือบสามร้อย

พวกเบัไปข้างสูง 25% ได้หลายหมื่น มีพวกเงินเดือนสูงสุดด้วย ปีหน้าสายวางท่อจะมาแรง

ยุคนี้ อาจารย์ปริญญาเอกเพียบในหลายแผนกที่พระนครเหนือ ที่ มจธ อาจารย์เก่งๆมากมาย ที่ลาดกระบังเวบดูลำบาก ที่เกษตร ธรรมศาสตร์ อาจารย์ดีๆมากเหมือนกัน

ผมบอกน้องที่เก่งๆไปว่า ถ้าอยากเป็นอาจารย์ไปมหาวิทยาลัยใหม่ๆในสายนี้ เช่น มหิดล งานกำลังขยาย

มีอะไรให้เรียนรู้จากข้อมุลที่เอามาให้ดู. ทุกคณะ จุดเน้นต่างกัน จุดขายต่างกัน

ดีใจที่น้องๆเค้าไปเรียนพระจอมร่วมปีละ เกือบ 60 จาก 600 มีงานทำแน่นอน รุ่นนี้หลายคนกำลังเป็นนักบินฝืกหัด มีงานดีๆทำ เป็นอาจารย์หนุ่มก็มี

สายวิทย์ไปดี สายศิลป์ก็สบาย มันโยงกันอยู่

วัยรุ่นเค้าบอกว่ายุคนี้ หนุ่มแมนๆ หน้าตาดี ไปอยู่กันแถวเกษตร พระจอมเยอะ

พบหนุ่มสาวของ ลาดกระบังได้บนรถแอร์พอร์ตลิงค์ ข้อเสียอยู่ที่ไกลจัง

ยินดีด้วยกับอาจารย์ นักศืกษา และบัณฑิตของลาดกระบังครับ ทำได้เยี่ยมมาก

ข้อมูลนี้หายากนะ ไปแฮกมา

แนะด้วยความจริงใจครับ อันไหนดีบอกดี อันไหนต้องระวังเรื่องงานก็บอก

เศรษฐกิจไทยดูมีอาการแปลกๆ เลือผิดตอนจบจะไม่มีงานทำ งานดี เงินดีสำคัญมาก เอาไว้เลี่้ยงข้าวสาวๆ


รัฐบาลควรลงทุน จัดทรัพยากรให้สามพระจอมมากขื้น ลงทุนแล้วคุ้มมาก กู้มาลงทุนยังคุ้มเลยครับ

วิธีดูตัวเลขในตารางข้างล่าง ดูจำนวนผู้กรอกแบบสอบถามเทียบกับผู้มีงานทำก็พอ ตรงสายไม่ตรงสายเนี่ย ไม่ใช่เรื่องใหญ่ เค้าเรียก related occupations ครับ

http://www.kmitl.ac.th/…/plan…/research/stud-work%202555.pdf
14 พ.ค. 59 / 14:49
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676927 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#48# - 676928 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] การมีงานทำของลาดกระบัง วิทยาศาสตร์

ทำงานแล้ว 68% ศืกษาต่อ 21.2% ยังไม่ทำงาน 11% เท่านั้น อัตรการมีงานทำของวิทย์ ลาดกระบังเร็วกว่าของจุฬา และ มหิดล

สาขาที่มีงานทำมากของลาดกระบัง คือ

เคมือุตสาหกรรม
วิทยาการคอมพิวเตอร์
จุลชีวอุตสาหกรรม
สถิติประยุกต์
เคมีอุตสาหกรรม เครื่องมือวิเคราะห์
คณิตศาสตร์ประยุกต์ วงเล็บ กับอุตสาหกรรมนั่นแหละ
เทคโนโลยี่ชีวภาพ
เทคโนโลยี่โพลิเมอร์
ฟิสิกส์ประยุกต์
เทคโนโลยี่ปีโตรเคมี

ตัวเลขนี้รวมเรียนต่อด้วย

มหิดล กับจุฬา เน้น pure science ลาดกระบัง เน้น applied science ที่เชื่อมโยงกับภาคการผลิต งานจืงมีมาก สายมหิดล จุฬา เหมาะทำ วิจัย สอน เรียนต่อ ถ้ามีโครงการวิจัยของ ปตท ที่ระยองเกิด แบบเกาหลีจืงจะโอเค

ดูเงินเดือนวิทย์ ลาดกระบัง มจธ ดูเองนะ

ลาดกระบังนี่ ภาษาหุ้นเรียก หุ้นราคาถูกผิดปรกติ
------------------------------------------------------------

วิศวะ ลาดกระบัง อัตราการมีงานทำสูงต่อเนื่อง ได้งานเร็วมาก โดยไม่ต้องทำ job fair
;gขียนเรื่องงานของวิศวะ ลาดกระบัง บัณทิตรุ่น 2553 ไว้ว่า

คณะที่มีงานทำมากที่สุดของลาดกระบังกระจายมาก

วิศวกรรมไฟฟ้า จาก 122 ว่าง 9 ตัวเลขเรียนต่อของลาดกระบังราว 20% ของบัณทิต วิศวะ

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จาก 103 ยังไม่ทำงาน 8

;วิศวกรรมโยธา จาก 53 ว่าง 5

วิศวกรรม สารสนเทศ 113 ว่าง 13

วิศวกรรมเครื่องกล 69 ว่าง 3

วิศวกรรมเกษตร 23 ว่าง 6

วิศวกรรมระบบควบคุม 78 ว่าง 10

วิศวกรรมการวัดคุม 33 ว่าง 3

วิศวกรรมอุตสาหการ 22 ว่าง 6

วิศวกรรมโทรคมนาคม 176 ว่าง 27

วิศวกรรมเคมี 56 ว่าง 2

วิศวกรรมแมคาทรอนิกส์ 48 ว่าง 5

วิศวกรรมอาหาร 50 ว่าง 3

ทำไมพระจอมมีงานทำในอัตราสูง คำตอบน่าจะเป็นว่า

หนื่ง ตลาดยอมรับ ตลาดต้องการคนที่ปฎิบัติงานได้ ไม่รู้ละที่ไหนดีกว่า แต่เรื่องจ้างใครตลาดตัดสิน

สอง พระจอมเข้าคุมงานราชการ บริษัทที่จะต้องดีลกับราชการก็ต้องการคนที่ติดต่อได้ไปทำดีล ก็ต้องคนจากมหาวิทยาลัยเดียวกัน เช่นโยธา ไฟฟ้า อีเลกโทรนิกส์

สาม หลักสูตรของพระจอมสนองต่อความต้องการปัจจุบัน ลองเทียบดู งานที่ตรงกับหลักสูตรของพระจอมกำลังขยายตัว

เช่น โทรคมนาคม ระบบอัตโนมัติ ระบบวัดคุม precision industry

สี่ หลักสูตรของจุฬาที่ตั้งมาแล้วบางสาขา งานภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรมไม่ขยายตามแผน เช่น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โรงงานถลุงเหล็ก ของเกษตร เช่น การผลิตเครื่องบิน

ห้า ความต้องการคนทำงานระดับสุดยอด ออกแบบได้มีเพียง 5 % ของวิศวะทั้งหมด ความต้องการเป็นระดับปฎิบัติการ แต่สุดยอดฝีมือน่าจะยังอยู่ที่จุฬา
14 พ.ค. 59 / 14:54
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676928 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#49# - 676929 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] งานและรายได้ของบัณทิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่น 2555

นักเรียนเก่าสวนกุหลาบสามคน ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อนุสาวรีย์สามปูชนียบุคคล หน้ามหาวิทยาลัย เป็นที่สักการะของนิสิต

รายงานการมีงานทำของรุ่น 2555 เพิ่งสำรวจไปได้เพียงรอบสอง ปีกว่า เอาข้อมูลล่าสุดมาดู แต่ครอบคลุมบัณทิต 94% ถือว่าสมบูรณ์ ผลงานน่าประทับใจทีเดียว สองปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยเน้นเรื่องการหางานให้บัณทิต จัดทำเป็นโครงการใหญ่ ก่อนหน้านี้ รายงานรุ่น 51 ออกมาปี 2555 ช้ามาก

เกษตรผลิตบัณทิตออกมา ราว 10500 คน หักผู้ที่ไม่ประสงค์จะหางานทำ เรียนต่อ เกณท์ทหาร ออกบวชราวพันกว่าคน เหลือตัวเลขผู้ประสงค์หางานทำ และผู้ไม่มีงานทำ

ผลคือ ได้งานแล้ว 88.12% ยังไม่มีงาน 11.88%

เกษตรมีห้าแคมปัสครับ คือ บางเขน กำแพงแสน ศรีราชา สกลนคร และสุพรรณ มีสถาบันสมทบสอนพยาบาล และชลประทานด้วย

คณะ เกษตร บางเขน และกำแพงแสน มีงานทำราว 88%ที่ว่างงานผิดปกติ คือ อาหารและโภชนาการ 19%
คณะ เทคนิกการสัตวแพทย์ ได้งาน 100%
คณะ บริหารธุรกิจ ได้งาน 92%
คณะ ประมง 85%
คณะ มนุษยศาสตร์ 87% ระวัง วรรณคดี สื่อสารมวลชน และศาสนา
คณะ วนศาสตร์ ได้งาน 95%
คณะวิทยาศาสตร์ ได้งาน 88%
คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ได้งาน 87%
วิศวกรรมการบิน ปกติ จบ31 หางาน 27 ได้งาน 22 ยังว่าง 5 เงินเดือนไม่เยอะ ไม่คุ้มค่าเรียนเกือบสี่ล้าน แต่ไม่แน่ใจว่าได้งานนักบินกี่คน เงินเดือนระดับสองหมื่นกว่า
ภาคพิเศษวิศวการบิน จบ 19 มาแจ้งข้อมูล 10 หางาน 9 ได้งาน 4
วิศวะ ภา2คพิเศษ ที่ต้องการหางานได้งานราว 80%
สืกษาศาสตร์ได้งาน 90%
เศรษฐศาสตร์ได้งาน 87%
สถาปัตย์ได้งาน 94%
คณะ อุตสาหกรรมเกษตร ได้งาน 88%
สังคมศาสตร์ ได้งาน 84%
สิ่งแวดล้อมได้งาน 100%

มหาวิทยาลัยที่ไม่ช่วยลูกศิษย์หางาน บาปมาก

จบตอนหนื่ง บางเขน แคมปัสครับ
---------------------------------------------------------------------

งานและรายได้ของบัณฑิตเกษตร ตอน 2 แคมปัส กำแพงแสน ศรีราชา สกลนคร สุพรรณบุรี

มีน้องๆนักเรียนมาขอเป็นเพื่อน และหลังไมค์มามาก รู้สืกสดชื่น และเป็นวัยรุ่นนิสนืง
คำถามที่คนมักจะถามเรื่อง เกษตร คือ
หนื่ง มีข้อมูลสาขานี้ นั้น โน้นมั้ย ว่าจบมาแล้วเป็นอย่างไร ทำงานที่ไหน มีงานทำมั้ย เงินเดือนเท่าไหร่ อนาคตรุ่งมั้ย ต้องไปทำงานต่างจังหวัดหรือเปล่า
สอง ภาคพิเศษ คือ อะไร เรียนตอนไหน ค่าเทอมแพงมั้ย
สาม ภาคอินเตอร์ ค่าเรียนเท่าใด จบมาแล้วคุ้มเงินหรือเปล่า
สี่ ภาคใดรุ่งบ้าง เหมือนทายหุ้นเลย
ห้า เอาเงินค่าเรียนอินเตอร์ไปซื้อหุ้น กองทุนดีๆเก็บไว้ห้าปีคุ้มกว่ามั้ย
หก แคมปัสต่างๆอีกสี่แคมปัส เป็นยังไงบ้าง จบมาแล้วมีงานใหม
จะลองตอบครับ คำตอบที่ดีที่สุดคือ สถิติ ตั้งแต่สถิติออกมา ดราม่า หายเรียบ

;วิทยาเขต กำแพงแสน

โดยเฉลี่ย กำแพงแสนมีอัตราการมีงานทำพอๆกับบางเขน ที่ต่างกันขื้นอยู่กับการเน้นหนักวิชาที่เปิดสอนในแต่ละแคมปัส

คณะ เกษตร
มีงานทำ85% สาขาที่ต้องระวังคือ ส่งเสริมและนิเทศน์ ว่าง 30% มหาวิทยาลัยในภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น มทร ราชภัฎ กินส่วนแบ่งต่างจังหวัดไปมาก
พืชสวน ว่าง20% อื่นๆว่างราว 15%
วิทยาศาสตร์การกีฬา จบมา 50 ว่างแค่ 3 คน ผลิตไม่เยอะ อย่าเรียนพลศืกษา วิทย์ กีฬาจะเข้ามาแทน ธุรกิจกีฬา จะขยายตัวมาก อย่าคิดแค่เป็นเทรนเนอร์ ฟิตเนส ถ้าทำงานนี้ หนุ่มๆรักษาพรหมจรรย์ให้ดี

คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ภาคปกติ ผลิตมา 285 คน อาหาร เกษตร เครื่องกล ชลประทาน โอเค ระวัง วิศวะคอมพ์ ที่พวกเก่งมาก แห่กันเข้าไป ว่างระดับ 20% ตัดสินใจผิดกันหมดทุกมหาวิทยาลัย มีพวกขี้โม้เยอะ
ภาคพิเศษ ได้งานเหมือนภาคปกติ

คณะ ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีงานทำเฉลี่ย87% ระวังสาขา จุลชีววิทยา ว่างราว 30% ภาคพิเศษ ระวัง วิศวะ คอม
คณะ สัตวแพทย์ เกษตร จบมา 100 ได้งานหมด

วิทยาเขต ศรีราชา
ว่างงานเฉลี่ย 11% ที่ว่างมากหน่อยคือ โรงแรมและการท่องเที่ยว โลจิสติกส์ ว่างระดับ 20% เปิดกันเยอะ
วิทยาลัย พาณิชย์นาวีนานาชาติ จบมา 133 คน
เลือก วิทยาศาสตร์การเดินเรือ วิศวกรรมการต่อเรือ แต่อย่าเลือกสายปฎิบัติการบนเรือ

วิศวกรรมศาสตร์ ว่างงานแค่ 7%จบมา 400 แถวศรีราชา แหล่งงานเยอะ แหลมฉบังแค่นั้นเอง ดีทั้งคอมพิวเตอร์ เครื่องกล คอมพ์ อุตสาหการ ดีใจที่แนะเด็กสวนไปถูกทาง

ที่ตั้งแคมปัส สำคัญมาก ถ้าใกล้แหล่งงาน งานจะเยอะ เช่น ศรีราชา ict ต้องมหาวิทยาลัยในเมือง เพราะผู้เชี่ยวชาญอยู่ในเมือง

ถ้าจะเลือกสายเรือ เลือกเกษตร ถ้าการบินชอบการบินกิจการพลเรือน หรือพระจอม
คณะ วิทยาศาสตร์ เกษตร ศรีราชา มีงานทำ 87%]ผลิตมา 400 vย่าเรียนวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม โรงงานไม่จ้าง

วิทยาเขต สกลนคร สมเด็จพระเทพขอให้สร้างแคมปัสนี้ เพื่อสร้างโอกาสให้ประชาชน ผลิตมา 600 มีงาน88%
คณะ ศิลปศาสตร์และวิทยาลัยการจัดการ
มีงาน 85%
งานเพียบ บัญชีงานเต็ม การจัดการว่าง 25% บางทีเค้าก็ต้องการผู้ชายไว้กินเหล้ากัน
คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มีงาน 86% โอทั้งทรัพยากรการเกษตร และอาหาร

คณะ วิทยา และวิศวะ
ผลิตมา 250 มีงานแทบ100% ที่ว่าง20% คือ เทคโนโลยี่สารสนเทศ เร็วไปจ้า

สถาบันสมทบ

วิศวะโยธาและชลประทา มีงาน 86%
พยาบาลนพรัตน์ มีงานหมด

ยุคนี้งานไปโผล่ที่ต่างจังหวัดเป็นหลัก ขอนแก่น นเรศวร สารคาม งานเพียบ

ตั้งอกตั้งใจเขียนเชิดชู เกษตรศาสตร์ เต็มที่เลยนะเนี่ย
สืบสานเจตนารมน์ของสามปูชนียบุคคลของเกษตร คนสำนักเดียวกัน

แนะนำเด็กสวนไปว่าเรียนสบายๆ มีงานทำ เจริญรุ่งเรือง ไม่ต้องไปเรียนแข่งกับเด็กโอลิมปิก มาเกษตรเลย ก้าวหน้าแน่นอน

เกษตรมีบัณทิตได้เกียรตินิยมราว 12%
14 พ.ค. 59 / 15:00
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676929 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#50# - 676930 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] อ้อ วิศวคอม วิทยาการคอมมือดีๆเขารับจ้อบก็รวยแล้วครับ เป็นฟรีแลนซ์ ตัวเลขการมีงานทำไม่เยอะ ไม่ทำงานเงินเดือน
14 พ.ค. 59 / 15:02
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676930 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#51# - 676933 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เงินเดือนเริ่มต้นบัณฑิต จุฬา รุ่นปี 2553 "
ตัวเลขข้างหน้าเป็นเงินเดือนเฉลี่ย ตัวเลขด้านหลังเป็นเงินเดือนสูงสุด
ยังไม่ได้นับรวมโอที โบนัส ค่าภาษา สวัสดิการอื่นของภาคเอกชน รัฐบาล องค์กรระหว่างประเทศ
การเรียนชั้นมัธยมปลายจืงสำคัญต่อรายได้ในอนาคตมาก

เงินเดือน ป ตรี จุฬา ข้อมูลราวปี55
วิศวกรรม สีเลือดหมู
ป ตรี
วิศวกรรมอากาศยาน 21000>>27000
สารสนเทศและการสื่อสาร 26000>>35000
นาโน 2100>>31000
การออกแบบและผลิตยานยนต์ 26000 >>40000
โยธา 19000>>28000
ไฟฟ้า 25000>>70000
เครื่องกล 28000>>75000
ยานยนต์ 28000>>53000
วิศวะ เรือ 18000
อุตสาหการ 24000 >>> 50000
เคมี 31000>>40000
ปีโตรเลียม 46000>>53000
ธรณี 22000
สิ่งแวดล้อม 21000>>28000
สำรวจ 18000
โลหะะและวัสดุ 25000>>50000
วิศวะ คอมพิวเตอร์ 23000>>> 36000
บัญชี
สารสนเทศการจัดการ 20000>>.23000
โลจิสติกส์ 16000>>> 20000
สถิติคณิตศาสตร์ 18000 พอๆกับ สถิติประยุกต์
เทคโนโลยี่สารสนเทศเพื่อธุรกิจ 20000>> 22000
ประกันภัย 18000> 21000
ธนาคาร การตลาด ให้ข้อมูลไว้แล้ว
====================================เปลี่ยนคำแนะนำใหม่ ถ้าเรียนวิศวะ วิทยา เภสัช ไม่ถืงระดับสุดยอดมานี่ดีกว่ามั้ง คิดเอง แนะนำ ป โท อย่างเต็มที่ ทุกสาขามาเรียนได้
ป โท วิศวะ
การจัดการทางวิศวกรรม ก็บริหารนั่นแหละครับ เฉลี่ย 53000>>90000
โยธา 25000>>40000
ไฟฟ้า 22000>>30000
เครื่องกล 19000
อุตสาหการ 38000 >>60000
เคมี 40000>>>100000
ปิโตรเลียม 50000
สิ่งแวดล้อม 21000>>30000
;วิศวคอม 29000..>>30000
ซอฟท์แวร์ 28000
นิวเคลียร์ 25000>>40000
คอม 22000
=========================
สถาปัตยกรรม
เรียน 5 ปีหรือเปล่า งานหนัก ตอนเรียนไม่ได้นอน แพงค่าวัสดุ ผลตอบแทนธรรมดามาก
ออกแบบสถาปัตย์ 17000>>20000
สถาปัตย์ไทย 16000>.18000
ออกแบบอุตสาหกรรม 15000>>22000
ผังเมือง 14000>>18000
ภููมิสถาปัตย์ 23000>> 68000
สถาปัตย์ภายใน 15000>>ๅ18000
ปริญญาโทที่น่าเรียน
สถาปัตยกรรม 30000>>37000
การพัฒนาอสังหา 70000>>150000
บัณทิตประมาณ 80% เปลี่ยนอาชีพ
=====================================นิติศาสตร์
เอารายงานของ มธ มาเทียบ รายได้นิติอยู่ที่18000 จุฬาก็ราวนี้ สายนี้ควรเรียนเนติ หรือต่อโท
รายได้เฉลี่ยคนจบโท นิติ จุฬา
นิติศาสตร์ 30000> 120000
กม เศรษฐกิจ 70000>> 120000
แล้วยังมีกม ธุรกิจ และ กม การเงินและภาษี
รายได้คนจบโทสูงเพราะทำงานมาบ้างแล้ว อย่างน้อยหนื่งปี จะมีสำนักงานของตนเองราวอายุ40 เหมือนกับสถาปัตย์ นิติมีรายได้เดือนละเป็นล้านก็มาก เฉพาะคนเก่ง เหมือนหมอนั่นแหละ
=====================
รัฐศาสตร์ ป ตรี เฉลี่ยราว 16000
สูงสุด
ปกครอง 21000
ต่างประเทศ 20000
รัฐประศาสนศาสตร์ สังคมวิทยาก็ราวนี้
ปริญญาโท
ปกครอง 15000>>25000
ต่างประเทศ 35000 >> 200000
สังคม 15000> 25000
รัฐประศาสนศาสตร์ 30000>.150000
พัฒนาระหว่างประเทศ 30000>>200000
นิเทศศาสตรื ป ตรี
การจัดการการสื่อสาร 40000>>160000 น่าจะเป็นหลักสูครอังกฤษหรือเปล่า
===================================เน้นอีกทีนะครับว่า เมืองไทยต้องการพวกบริหารการจัดการ
ทั้งบริหารธุรกิจ เทคโนโลยี่ การสื่อสาร การศืกษา บริหารวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม อสังหาอย่างแรง
พวกนี้คือคนที่ดูได้ทั้งระบบ วางแผนได้ ทำโครงการได้ ตั้งงบได้ สื่อสาร วิ่งเอางาน สร้างงานได้ ยิ่งด้านวิทยาต้องการเยอะ พวกนี้คุยกับคนไม่รู้เรื่อง ตั้งโครงการไม่เป็น
วารสารสนเทศ 19000>>22000
การกระจายเสียง 15000>>20000
ประชาสัมพันธ์ 18000>>23000
โฆษณา 14000>>18000
วาทวิทยา 14000>>15000
ภาพยนต์ ภาพนิ่ง 15000
การแสดง 13000 สงสารอั้ม พัชราภา กับณเดชย์มาก รายได้ต่ำ
ถ้าเรียนโทต่อ รายได้จะเพิ่มขื้น
สื่อสารมวลชน 25000>?>30000
ประชาสัมพันธ์ 30000>>70000
ภาพยนต์ 18000>>36000
ครุศาสตร์ ใช้ ตัวเลข มศว
http://planning.oop.swu.ac.th/…/downlo…/report/gra-51-52.pdf
เป็นคณะที่มีนักเรียนจากต่างจังหวัดมากที่สุด ทำราชการมาก
ธุรกิจศืกษา 15000
ประถมศืกษา 15000>>40000
ปฐมวัย 15000>>60000
ดนตรีศืกษา 10000>>15000
ศิลปศืกษา 12000>>13000
มัธยม 11000 >>20000
14 พ.ค. 59 / 21:31
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676933 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#52# - 676934 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] iรายได้ของบัณทิต จุฬาปี 2557

นักเรียนถูกสอนกันว่า งานที่ดีคืองานที่เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ เป็นงานที่มีความสุข สามารถช่วยเหลือสังคมได้ ภูมิใจในงานที่ทำ ไม่ใช่รายได้อย่างเดียว

รายได้ต้องคิดจากรายได้ระยะยาวของอาชีพนั้น อย่าคิดเพียงรายได่เริ่มต้น

ในยุคที่เศรษฐกิจจะผันผวนเรื่อยๆ งานที่มั่นคงเป็นที่ต้องการมาก งานแนวฟรีแลนซ์นิยมน้อยลง

ข้อมูลนี้จืงมีประโยชน์ในการเลือกงาน หน่วยงาน และอาชีพเพียงระดับหนื่ง

ยุคนี้มีอาชีพหลากหลาย คนไม่ได้มีรายได้เพียงทางเดียว การเรียนรู้ พัฒนาตนเองตลอดชีวิตสำคัญมากกว่า

-----------------------------------

ปริญญาตรี

เฉลี่ย-----------------l^สูงสุด

แพทย์ศาสตร์ 45000-90000
ทันตะ 40000-160000
สัตวแพทย์ 23000-52000
สหเวชศาสตร์ 21000-100000
จิตวิทยา 20000-30000
วิทยาศาสตร์การกีฬา 16000-30000
วิทยาศาสตร์ 22500- 57500
วิศวะ 28000-66000
สถาปัตย์ 19000- 85000
อักษร 23500-80000
ศิลปกรรม 18000-30000
ครุศาสตร์ 18000-100000
นิติศาสตร์ 18000-35000
นิติศาสตร์ ภาคบัณทิต 42000-180000
นิเทศ 25000-50000
บัญชี 24000-100000
รัฐศาสตร์ 20000-50000
เศรษฐศาสตร์ 21500-100000
เกษตร
15000-20000

บัณทิตรุ่นนี้ทำงานกิจการของตนเอง และองค์กรต่างประเทศราว 10%

ภาษาเป็นปัจจัยหลักในการได้งานรายได้สูง และการศืกษาต่อ

บัณทิตที่ได้เกียรตินิยมราว 49% ก็มันเทพกันทั้งนั้น

เอาไว้เป็นข้อมูลนะครับ

ที่จริงพวกเข้าราชการน่าสนใจกว่า สตาร์ทที่ 10000 เศษๆ แต่จะไปไกลกว่างานเอกชนหรือเปล่า ไม่แน่ใจครับ

ยังไงก็รับใช้ชาติ ประชาชนด้วยละกัน

------------------------------------------------

รายได้เฉลี่ยและสูงสุดของบัณทิตปริญญาโท จุฬา รุ่นรับปริญญาปี 2557

ปริญญาโท

เฉลี่ย.........>>>>.......>>>>. สูงสุด

บัณทิตวิทยาลัยจัดสอนเอง 35000------->100000
แพทย์ศาสตร์ 38000>>>>>>180000
ทันตะ 38000>>>>>>100000
สัตวแพทย์ 25000>>>>>>35000
เภสัช 33000->>>>>>69000
พยาบาลศาสตร์ 24000>>>>>>-100000
สหเวชศาสตร์ 24000>>>>>>39000
จิตวิทยา 32000>>>.>>51500
วิทยาศาสตร์การกีฬา 19000>>>>>>-30000
วิทยาศาสตร์ 30000>>>>>.80000
วิศวกรรม 36000>>>>>>80000
สถาปัตย์ 31000>>>>>80000
อักษร 25500-80000
Lศิลปกรรม 25000>>>>>>50000
ครุศาสตร์ 24000>>>>>>270000
นิติ 42500>>>>>>250000
นิเทศ 33000>>>>>85000
[บัญชี 53000>>>>>>550000
รัฐศาสตร์ 27000>>>>>>150000
เศรษฐศาสตร์ 46000>>>>>>>220000
ประชากรศาสตร์ 13000->>>>>>16000

;วิทยาลัยสาธารณสุข 41000>>>>>110000
ปิโตรเคมี 28000>>>41000
ศศินทร์ MBA 54000->>>>>100000
14 พ.ค. 59 / 21:39
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676934 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#53# - 676935 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ความเสี่ยงวิศวะ จุฬา
หนื่ง จะลาออก ไทร์ออกราว100 จาก 800 จบราว 700 ก็ราว12% เป็นสถิติการออกพอๆกับที่เกษตร บางมด ลาดกระบัง ที่SIIT อาจมากกว่า
สอง จาก 800 คนของจุฬา จะได้เกียรตินิยม 34% ที่เกิน 3 น่าจะราว400 คน แต่มาจากสิบกว่าสาขา ก็ต้องไปแข่งกันหา internship บริษัทดีๆ หางาน หรือสร้างความแตกต่างโดยการเรียนโท หรือต่อโทนอก
สาม ความเสี่ยงเรื่องการทำคะแนนเข้าสาขา เดิมทีคนไม่อยากได้เรือ สิ่งแวดล้อม วัสดุ ภาคต่างๆจบมาก็เงินเดือนต่างกันพอสมควร ที่คนแย่งกัน เช่น ปิโตรเลียม คอมพ์ ไฟฟ้า เครื่องกล โยธาไรงี้ เข้าไปแล้วรู้ครับ มีประกาศ เรื่องเกรดก็เป็นไปตามระบบมี A B C D F อาจารย์วิศวะ 300 คนก็ธรรมดาซะเมื่อไหร่
สี่ คู่แข่ง ดูจากรับตรง มีพวกเข้าค่ายโอเยอะ ทั้งในกทม และต่างจังหวัด พวกค่าย1 เยอะ เด็กโครงการสสวท ราว 70% กลุ่มที่จะเข้าไปตอนแอดมิชชั่น จะไม่สรองเท่าไร เพราะมีGPAX ONET มาช่วย ถ้ามาจากต่างจังหวัด โรงเรียนเดียวคน สองคน จะได้เปรียบGPAX ไปเกือบพันคะแนน โอเนทยังมีส่วนประกอบของสังคม ไทย อังกฤษ รับตรงราว50% มาจากโรงเรียนละคน สองคนไรงี้
ห้า การเอาตัวรอดในคณะวิศวะ ปี1 คือ มีกลุ่มเพื่อนที่มีเทพช่วยกันติว เด็กสวนอยู่ลำดับต้นๆที่นั่น ที่หนื่งในวิชาต่างๆก็มี พวกกลุ่มนี้ ช่วยๆกันเรียน ไปฉลุย ถ้าขยันนะ พวกที่เหนื่อยคือ ข้ามาคนเดียว เพราะงานมันเยอะ รุ่นพี่เก่งๆช่วยได้มาก
หก ภาควิชาที่คนต้องการจะแข่งกันในหมู่ผู้สอบเข้าได้500 อันดับแรก ที่คนต้องการน้อยอยู่ที่อันดับ 400 ขื้น อันดับ700 ขื้นเตรียมซิ่ว
===================
จบออกไปก็ต้องไปแข่งกับวิศวะ เกษตร พระจอมที่จบมาราว 4500 คน สัดส่วนคะแนน 3 ขื้นไป อยู่ที่โพสท์ก่อนหน้านี้

แต่ละมหาวิทยาลัยจะมีบริษัทลูกค้าของตัวเอง ที่จุฬาเยอะมาก สายคอมพ์ ปีโตรเลียม

เด็กสวนที่ไปเรียนที่เกษตร กับบางมด ลาดกระบังดูจะแฮปปี้ แต่พวกที่ไปจุฬาก็สบายกันดี

career paht เงินดีทั้งนั้น รวมต่างๆน่าจะได้ถืง 60000 ,มีงานทำ
==============
ความเสี่ยง บัญชี บัญชี จุฬา
หนื่ง ถ้าปีแรกเรียนแล้ว ไม่ชอบ จะต่อลำบาก ไม่ใช้แมทแบบเด็กสายวิทย์เรียน เป็นกรอบความคิดอีกแบบที่ต้องอินกับมันให้ได้ ต้องขยันมาก ทำแบบฝืกหัดมาก

สอง ไม่รู้ว่าที่บัญชี จุฬามีเด็กสวนเยอะ มีกลุ่มช่วยติวให้หรือเปล่า บัญชีนี่เรียนคนเดียว ไม่มีคนคุยด้วย ไปไม่เป็นเลยละ ต้องมีโต้ช ถ้าไม่มีต้องหาติวเตอร์

สาม จบมาเรียนโท ทำ CPA เข้าบิ๊กโฟร์สบาย หาเงินใช้ได้เดือนละเป็นแสน อาจตั้งบริษัท หรือทำงานกับเฟิรมใหญ่

สี่ เด็กสวนนิยมไปอยู่กันที่ มธ ช่วยกันเยอะ ที่นั่นจะดังเรื่องแข่ง SET Star มีทั้ง investment TFEX CPR KBank INsurance สอนเรื่องหุ้นระดับปฏิบัติ ตอนหลังเศรษฐศาสตร์ก็มาร่วมด้วย ออกแนว School of Commerce and Economics ดีนะ

หลักสูตรที่เยี่ยมที่นั่นคือโทบัญชี 5 ปี เรียนร่วมกับบริหารธุรกิจ จะสร้าง CEO เพราะจะใช้ตัวเลขพูดกลยุทธ การตลาด องค์กร การแข่งขันสบาย
==============
โน้มไปทางวิศวะนะ มีเงินชัวร์ อยากรู้ธุรกิจต่อ MBA ถ้าอยากได้สองเรื่องลงบัญชีรามควบ
14 พ.ค. 59 / 22:00
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676935 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#54# - 676936 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เมื่อรู้สถานการณ์รายได้และการมีงานทำของทุกสาขาในทุกมหาวิทยาลัย โรงเรียนที่ดีจะจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนได้เข้าเรียนตามที่ชอบ คนที่มีทรัพย์มิน เงินทองมากจะเรียนตามที่ชอบ เช่นดนตรี ศิลปกรรมศาสตร์ คนที่ต้องมีอาชีพไว้สร้างรายได้จะเลือกอาชีพที่รายได้สูง

แต่เข้าเรียนแล้วจะต้องระวังว่าจะไม่รีไทร์ ต้องลาออก แต่ควรเรียนคณะที่ได้คะแนนสูงระดับเกียรตินิยมด้วย จะได้มีสิทธิเรียนโทต่อ หรือมีสิทธิสมัครเข้างานบริษัทใหญ่ที่ตั้งคะแนนขั้นต่ำไว้

-------------------------------------

ยกตัวอย่างคณะวิศวะ

วิศวะเกษตร บางเขนได้เกียรตินิยม 13% ของบัณทิตที่จบ

วิศวะเกษตรกำแพงแสน เกษตรศรีราชาได้เกียรตินิยม 5% ของบัณทิตที่จบ

วิศวะจุฬาได้เกียรตินิยมราว 34% ของบัณทิตที่จบ 699 คน

วิศวะบางมดมีบัณทิตได้เกียรตินิยม 12% เกียรตินิยมอันดับหนื่ง1% ของบัณทิตร่วมพันคน ลาดกระบังก็ราวๆนี้

ลาดกระบังก็ราวนี้

รายได้ของบัณทิตเกียรตินิยมสูงกว่านิสิตที่คะแนนต่ำ จะสมัครนักบินได้คะแนนต้องถืง

ที่ต้องระวังคือ อัตราการลาออกและรีไทร์

จุฬา จากที่รับปีหนื่งเข้าไป 7000 มีคนลาออก ไทร์ ซิ่วราว 15% จบ6000 ที่ซิ่วลาออกมากคือ วิทยา เภสัช

อัตรารีไทร์ ลาออกของวิศวะ จุฬาราว 15% ของผู้ที่เข้าไปเรียน เข้า 800 จบ700 ได้เกียรตินิยม 240 คน นักเรียนที่เรียนไม่ไหวมักมีลักษณะคือ มาจากโรงเรียนละคนสองคนซื่งมีเยอะ หาเพื่อนติวไม่ทัน

ช่วงชั้นคะแนนของวิศวะ บางมด
3.00 ขื้น 26% ของบัณทิตที่จบ
2.75-3.00 ราว 20%
2.50-2.75 ราว 20%
2.00-2.50 ประมาณ 34%

ลาดกระบังราวนี้

gpa เฉลี่ยวิศวะเกษตร บางเขนอยู่ที่ 2.7 วิศวะกำแพงแสนและศรีราชา 2.4 GPA เฉลี่ยจุฬาน่าจะสูงกว่าเพราะมีคนได้เกียรตินิยมมาก แต่คนที่อ่อนแอจะจะโดนเหยียบ

เข้าไปเถอะ เกาะกลุ่มกันไว้ จบสบาย เด็กสวนทำกันได้ดีมาก นักเรียนสวนกุหลาบคะแนนอยู่ระดับต้นๆของคณะ มีเทพประจำรุ่นทุกวิชา โดยเฉพาะฟิสิกส์และเคมี

จบวิศวะควรได้คะแนน 2.75 หรือ 3.00 ขื้น จะได้สมัครนักบิน สมัคร บริษัทใหญ่ได้

เพิ่มเติม

วิศวะ มจธ
เรียนไม่จบ ลาออก ออกกลางคัน 18%
จบในกำหนดสี่ปี 60%
จบได้เกียรตินิยม 12%

วิศวะลาดกระบังระดับเดียวกัน
-----------------------------------------
บัญชี จุฬา มธ เกียรตินิยมราว 45%ไทร์ราว5% มั้ง
15 พ.ค. 59 / 03:09
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676936 171.96.172.174 <= 171.96.172.174

#55# - 676937 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] จบราชภัฏมีงานทำไหม
ถ้าจะเรียนราชภัฏ เสี่ยงมาก เรื่องงานและรายได้จากการทำงาน
รายได้น้อยมาก อัตราการมีงานทำราว60%
สถิติของบัณทิตรุ่นจบปี 2555 ข้อมูลปี2557 มีเวลาหางานสองปี
อ่านเองละกัน

สวนสุนันทาถูกจัดเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏอันดับสองของประเทศ
น่าเห็นใจบัณทิตจากราชภัฏมาก

http://ssrureport.ssru.ac.th/data/reportbandit55.pdf
16 พ.ค. 59 / 18:26
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676937 171.96.172.125 <= 171.96.172.125

#56# - 676938 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] วนลูบมาที่ ธรรมศาสตร์ เงินดี งานเยอะ

http://th.jobsdb.com/th-th/articles/10-%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0-%E0%B8%88%E0%B8%9A%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88-%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87
16 พ.ค. 59 / 18:32
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676938 171.96.172.125 <= 171.96.172.125

#57# - 676939 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ น่าเป็นห่วงหลายคณะครับ

http://web.agri.cmu.ac.th/qa/intra/sar/2553-54/ref/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B32552-2553.pdf
16 พ.ค. 59 / 18:44
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676939 171.96.172.125 <= 171.96.172.125

#58# - 676940 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] มหาวิทยาลัยเอกชนมีปัญหาหลายด้าน....... "
.

การเข้าเรียนหมายถืงเงิน เวลา ความรู้สืกที่อาจเสียไป

มหาวิทยาลัยเอกชนแต่ละแห่งต่างกัน

แต่จะมีลักษณธคล้ายๆกันคือ

หนื่ง นักศืกษามหาวิทยาลัยเอกชนประมาณครื่งหนื่งลาออก เมื่อจบชั้นปีที่หนื่ง ด้วยหลายสาเหตุ

>กู้เงิน กยศ ไม่ได้ มหาวิทยาลัยหลายแห่งโฆษณาให้นักศืกษาเข้าเรียนโดยบอกว่ามีทุน กยศมาก

>นักศืกษาไม่พอใจบรรยากาศห้องเรียน การเรียนในชั้น เพื่อน อาจารย์ สังคม

>ลาออกไปสอบเข้าใหม่ ที่อื่น เรียกว่า ซิ่ว

.> ค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายแพง เรียนไปไม่คุ้ม ไม่มีเงินเรียน

รายได้ที่มหาวิทยาลัยเอกชนได้รับจากเด็กที่มาเรียนหนื่งปีแล้วลาออกเป็นเงินหลายพันล้านบาท เป็นความสูญเสียของนักเรียนและผู้ปกครองต่อเนื่องนับสิบปี บางมหาวิทยาลัยตั้งค่าเทอมปีแรกสูง แล้วค่อยๆลดลง
เพราะรู้ว่าจะลาออก ฟาดเต็มที่เลย
'
ตอนปีสอง การลาออกยังมีต่อเนื่องในหลายคณะ

การวางแผนการสอนจืงยุ่งมาก จิตใจของคนที่เรียนต่อย่อมอ่อนไหว

ระวังเรื่องค่าใช้จ่าย ดูให้แน่ใจ ดูหลายๆครั้ง หลายๆรอบ

แม้กระทั่งโครงการพิเศษแนวอินเตอร์ของมหาวิทยาลัยรัฐก็ต้องระวัง เช่น วิศวะนานาชาติของมธ เข้าปีหนื่ง 800 จบเพียง 300 ค่าเรียนแพงนะ MUIC SUIC ก็เช่นกัน

สอง อุปกรณ์การสอน เครื่องมือ แลบ สถานที่ฝืกงานเช่น โรงพยาบาล ห้องสมุด บรรยากาศการสัมมนา โครงการแลกเปลี่ยนกับต่างชาติ มหาวิทยาลัยเอกชนเทียบมหาวิทยาลัยของรัฐไม่ได้ ความพร้อมไม่มี

ที่จุฬา รายจ่าย50% มาจากรายได้ทรัพย์สืนมหาวิทยาลัย อีก 30% มาจากงบประมาณ อีก 20% มาจากค่าหลักสูตร เงินวิจัยที่อาจารย์หากันมา ค่าเทอมนิสิตน้อยมาก

สาม บรรยากาศ ความพร้อมเพื่ออำนวยความสะดวก สบาย เช่น สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย อาหาร ราคาอาหาร ที่พัก ราคา ต่างจากมหาวิทยาลัยของรัฐมาก อบายมุข ยาเสพติด วัฒนธรรมทางเพศต้องระวังให้หนัก

สี่ มหาวิทยาลัยของรัฐจะมีอาจารย์ประจำคับคั่ง หลากหลายสาขา มีอิสระเสรีในการปรับหลักสูตรทุกสองสามปี วิชาเดิมแต่เนื้อหาเปลี่ยนทุกปี
ส่วนมหาวิทยาลัยเอกชนต้องมีคณะกรรมการภายนอก อาจารย์จากมหาวิทยาลัยของรัฐ แก่ๆ เข้ามาติดตามเกรด นักศืกษาโดยเฉลี่ยจะได้คะแนนต่ำ เรื่องนี้เรื่องใหญ่เพราะบริษัทใหญ่ต้องการเกรดจบจากมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่าของรัฐ เช่นต้อง 3 ขื้นไป เมื่อเกรดต่ำจืงสมัครไม่ได้

ห้า หลักสูตรของมหาวิทยาลัยเอกชนจะล้อตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยรัฐ เพื่อเทียบเคียง ให้ผ่านการอนุมัติของคณะกรรมการอุดมศืกษา การเปลี่ยนหลักสูตร เพิ่มหลักสูตร เปลี่ยนเนื้อหาทำได้ยากมาก ใช้เวลาเป็นปีสองปี ส่วนมหาวิทยาลัยของรัฐเปลี่ยนกันเองได้เลย หลักสูตรจำนวนมากของเอกชนจืงโบราณมาก

หก อาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัยเอกชนค่อนข้างขาดงานวิจัยอย่างแรง อาจารย์น้อย โหลดงานหนัก ทุนไปต่างประเทศไม่มี ซื่งมีผลต่อเนื้อหาที่จะสอนนักศืกษามาก

แม้จะส่งคนไปเรียนนอก แต่กลับมาจะสอนยาก เด็กตกมาก ลาออก อาจารย์ถูกปลดตามไปด้วย บรรยากาศต่างจากจุฬา มธ สุดขั้วเลย

มหาวิทยาลัยเอกชนส่วนใหญ่ยังพยายามเอานักว่ายน้ำไปสอนยกน้ำหนักอยู่นั่นเอง โดยสอนตามแนว มรัฐ ซื่งไม่มีทางสู้ได้

มหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่งมีปัญหาสิ่งแวดล้อม ภายนอก สิ่งแวดล้อมภายในอยู่เหมือนกัน ปัญหาคือความภูมิใจ มั่นใจในอนาคตทั้งอาจารย์และนักศืกษา

มหาวิทยาลัยเอกชนที่ทำวิจัยเรื่องเศรษฐกิจ บริหารธุรกิจมาก คือ หอการค้าไทย บัญชีที่นี่มีชื่อเสียง มีอาจารย์ส่งไปเรียนนอกกลับมาเยอะ

เอแบกเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในวงการธุรกิจ บัญชี ภาษาศาสตร์ แต่แพงนะครับ SCG ขอเกรดเท่า ม รัฐก็พอ ยอมรับ สมัครได้

รังสิตเริ่มเอสตาบลิชด้านการแพทย์บ้าง แต่แพง ต้องดูว่าปีหลังสอบผ่านเวชปฏิบุัติกี่เปอร์เซนต์ ดูจะดีด้านนิเทศ ดนตรี ศิลปะ อาชีพเหล่านี้อิสระอยู่แล้ว มีมืออาชีพสอน

เทคโนมหานครดีด้านสัตวแพทย์ วิศวะพอควร

มหาวิทยาลัยกรุงเทพจะใช้ได้ด้าน ธุรกิจ ส่วนใหญ่เรียนออกไปทำธุรกิจตัวเอง ถ้าจบเอกชนไปเอาดีกรีนอกได้ก็จบเรื่อง เอแบค กรุงเทพ ไปเรียนกันมาก

ถ้าเรียนสายบัญชี ไปหาทางต่อโทที่จุฬา มธ เรียนให้ได้เกียรตินิยมไว้ มีสิทธิสมัครโททุกที่

บรรยากาศเอแบคใหญ่โต กรุงเทพก็เช่นกัน มหานครไกลมาก ไม่เคยไป เหะๆ หอการค้า หลายคนจะไม่ชอบบรรยากาศ

ถ้าเลือกได้ มรัฐดีกว่าหรือเปล่า แม้จะอยู่ต่างจังหวัด เช้นสงชลา มช มข


ผมหวังว่า มหาวิทยาลัยเอกชน จะต้องสื่อสารบอกสังคม เรื่องต่อไปนี้

รายชื่ออาจารย์ ตามจริง
ค่าใช้จ่ายในการศืกษา
ตัวเลขการลาออกของนักศืกษา
ตัวเลขผู้สำเร็จการศืกษาเทียบกับที่เข้าเรียน
รายงานการมีงานทำและรายได้

กระทรวงศืกษาต้องเปลี่ยนทัศนคติเยอะเลย
ผมพูดความจริงทั้งหมดแล้วนะครับ
16 พ.ค. 59 / 19:34
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676940 171.96.172.125 <= 171.96.172.125

#59# - 676941 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] คณะเศรษฐศาสตร์ ได้สำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตเป็นประจำทุกปี เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของบัณฑิตในสาขาอาชีพต่างๆ

จากการสำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตครั้งล่าสุดในปี พ.ศ.2557 พบว่า บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในปีการศึกษา 2556 มีงานทำ ร้อยละ 93.02 และศึกษาต่อร้อยละ 6.08 โดยในกลุ่มผู้มีงานทำ จำแนกได้ดังนี้

1. ธนาคาร ร้อยละ 25.00

2. ธุรกิจบริการ ร้อยละ 12.50

3. บริษัท หลักทรัพย์ ร้อยละ 11.67

4. ธุรกิจค้าส่ง ค้าปลีก ร้อยละ 11.67

5. ธุรกิจครอบครัว ร้อยละ 11.67

6. ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต/แปรรูป ร้อยละ 5.83

7. รัฐวิสาหกิจ/ข้าราชการ ร้อยละ 4.17

8. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ร้อยละ 3.33

9. ธุรกิจประกันภัย ร้อยละ 2.50


10. อื่นๆ ร้อยละ 10.83
========================
ประเมินว่าผู้จบจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เอแบคจะเข้าทำงานแนวนี้เหมือนกัน

แต่กรุงเทพและเอแบคเป็นลูกเจ้าของกิจการกันมาก เรียนมัธยมก็ตั้งใจเรียนเอกชน ออกมารับบริหารบริษัทต่อจากพ่อแม่เป็นแถว เรียนอะไรมาไม่มีทุนก็ไปไม่เป็น ทุนสำคัญกว่า
16 พ.ค. 59 / 19:43
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676941 171.96.172.125 <= 171.96.172.125

#60# - 676942 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] พศ 2559 การเลือกเข้าเรียนต่อดูจะเน้นสาขาวิชาที่มั่นใจได้ว่าจะมีงานทำ และรายได้ดีพอจะอยู่ในสังคมได้ อันที่จริงยังต้องคาดด้วยว่า เมื่อเข้าเรียนสาขานี้ จะออกไปทำงานอะไร ที่ไหน กับหน่วยงานใด ไลฟ์สไตล์จะเป็นอย่างไร ครอบครัวเป็นอย่างไร ขั้นตอนชีวิตแต่ละช่วงจะเป็นอย่างไร ข้อมูลที่ดีบอกทุกอย่างที่พูดถืงได้ วิธีการวิเคราะห์ระดับสูงที่ใช้ในการวางแผนประยุกต์ใช้ระดับโรงเรียนได้

โรงเรียนแต่ละแห่งต้องคำนืงถืงลักษณะพิเศษของนักเรียน และความสามารถ ความคาดหวัง
สิ่งเหล่านี้เรียนรู้ได้จากความสำเร็จของศิษย์เก่า ข้อมูลศิษย์เก่าที่สะสมต่อเนื่องเป็นร้อยปีคือดาต้าเบสที่สำคัญมาก
สวนกุหลาบคือ ชายล้วน- สายวิทย์ 12 ห้อง- สายภาษา 2 ห้อง อาชีพของชายล้วน ความถนัด ทั้งสายวิทย์ ศิลป จนถืงเพศที่สามอธิบายละเอียดในกระทู้ - อาชีพของนักเรียนจากโรงเรียนชายล้วน และกระทู้เครือข่ายศิษย์เก่าโรงเรียนสวนกุหลาบ นี่คือการวิจัยแนวจอร์จทาวน์

นักเรียนสวนกุหลาบส่วนใหญ่ที่สุดฐานะดี ชี้วัดโดย>องเกทค่าเทอม 50000> EP 80000 >นักเรียนห้องธรรมดาจำนวนมากแข่งกันเข้าห้องกิฟเตดที่ค่าเทอมสูง> ยังมีนักเรียนของผู้่มีอุปการคุณ> จำนวนผู้เรียนพิเศษ> สัดส่วนนักเรียนที่สมัครเข้าโครงการอินเตอร์ โครงการพิเศษ> เลือกอาชีพที่ใช้เวลาศืกษานาน และ... ไลฟ์สไตล์
ส่วนใหญ่ที่สุดมาจาก กทม ต่างจังหวัดก็มี พื้นที่บริการนี่แอบมาซื้อตืกกันไว้ก็มาก> ครอบครัวราว50% ทำธุรกิจ


--------------
มีหน่วยงานที่ช่วยวิเคราะห์มาตรฐานของมหาวิทยาลัยที่จะรับคนเข้าทำงาน เช่น SCG ปตท การบินไทย ธนาคาร CP Microsoft องค์กรระหว่างประเทศ เช่น UN iเชฟรอน >เลือกของ SCG
----------------------

เลือกคณะเป้าหมาย

คณะที่ปูนซีเมนต์ไทยเข้าไป recruit จากมหาวิทยาลัยมีลักษณะเด่น คือ มีอาจารย์ที่มีความรู้พอเพียง สามารถเปิดสอนระดับปริญญาเอกได้ ศิษย์เก่าได้สร้างผลงานที่ดี วัฒนธรรมการอยู่ร่วมเป็นที่น่าเชื่อถือ นี่คือเกณท์แรกในการเลือกคณะ มหาวิทยาลัย ดัชนีอื่นเช่น สถาบันที่การบินไทยเข้าไปrecruit นักเรียนเป็นนักบิน เป็นวิศวกร ที่สำคัญ เมื่อเรียนจบต้องได้คะแนนเกิน 2.7 สำหรับสมัครเข้า SCG -3.0 สำหรับสมัครเข้า ปตท /2.5 เข้าสายการบิน

วิศวะ.> จุฬา ธรรมศาสตร์ เกษตร มหิดล มช ลาดกระบัง มจธ พระนครเหนือ มอ
วิทยาศาสตร์ . > จุฬา ธรรมศาสตร์ มช ลาดกระบัง มจธ พระนครเหนือ มข มอ
รัฐศาสตร์ > จุฬา มธ มช สังคมศาสตร์ เกษตร
นิติศาสตร์> ธรรมศาสตร์ จุฬา
พาณิชย์ บัญชี> จุฬา ธรรมศาสตร์ BBA มหิดล บริหาร มช
สถาปัตย์ >>จุฬา ลาดกระบัง
เศรษฐศาสตร์ >> จุฬา ธรรมศาสตร์ เกษตร
สื่อสารมวลชน > ธรรมศาสตร์ น่าจะรับจุฬาด้วยมั้ง
วิทยาการจัดการ >รวมบัญชี เศรษฐศาสตร์ด้วย > เกษตร มข มอ

เข้าไปrecruit กันตั้งแต่ปี 3 อ้อ เกรด 2.7 โทอิค 550
--------------------------------

j'
18 พ.ค. 59 / 07:32
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676942 171.96.170.213 <= 171.96.170.213

#61# - 676943 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ประเด็นที่ควรพิจารณา
หนื่ง ประเมินครอบครัว ฐานะ ทรัพย์สิน อนาคต หลายๆๆคนจะอยู่ได้ถ้าเรียนรู้การบริหารทรัพย์สิน เงินทุนของครอบครัว อสังหาริมทรัพย์ เรียนรู้การควบคุมรายจ่าย เพิ่มรายได้ วางแผนอนาคตให้ดี หลายคนเป็นลูกคนเดียว แนวนี้ต้องไม่เรียน ลงทุนอะไรที่เสี่ยงเกินไป อยู่ดูแลพ่อแม่ให้ดี เรียนอะไรที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรเฉพาะทางต่างๆ

สอง ผู้ที่มีอาชีพดั้งเดิมของครอบครัวเช่นค้าปืน อัญมณี นำเข้า ส่งออก ค้าส่ง มีแบรนด์ อาหาร ยี่ห้อ รักษามันไว้ให้ดี มีค่ามากกว่าปริญญามาก ทำอย่างไรให้ดีขื้น

สาม หลายคนมีอสังหาให้เช่า มีคอนโดให้เช่า นั่นคือธุรกิจของคุณ เรียนรู้งานที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรการบริหารอาคาร เชี่ยวชาญอย่างเดียวก็อยู่ได้สบาย เป็นชีวิตของเด็กกรุงเทพจำนวนมากทีเดียว

สี่ คนที่มีทรัพย์สิน มรดกมาก แค่คุมตัวเองให้ดี มีคู่ครองที่ดี เรียนรู้ภาษา วิชาด้านบริหาร ธุรกิจ ภาษาให้ดีก็อยู่ได้แล้ว

-------------------------------
ห้า คนที่ต้องการวิชาชีพที่มั่นคงเพื่อสร้างทรัพย์สิน รายได้ที่เพียงพอ อาชีพแพทย์ เถสัช ทันตะ วิศวะ วิทยาบางสาขา การบิน รังสี ภาษา สอนหนังสือ นิเทศที่เก่งหาโฆษณาจัดรายการแบบเจ๊แหม่ม บัญชี เศรษฐศาสตร์ อสังหาริมทรัพย์ อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัย ช่วยให้คุณรวยได้ ถ้าต้องการเงิน

หก ถ้าเงินไม่เยอะอย่าลงทุนเรียนในสาขาที่ไม่รู้ว่าผู้จ้างคือใคร เช่น ดิจิตอลอาร์ท แอนิเมชั่น การศืกษาคือการขายของประเภทหนื่ง

เจ็ด มีอาชีพมากมายที่ถ้าคุณเก่ง คุณอยูสบาย โดยไม่ต้องเรียนอะไรหนักมากสายเดียว เป็นไปไม่ได้ที่คนทั้งประเทศจะเรียนหมอหมด เด็กสวนเรียนวิศวะ จุฬา จบนิติราม และเนติพร้อมๆกัน รุ่งแน่ ถ้าคุณรู้รัสเซีย
สามารถคิดดีลธุรกิจมากมาย

แปด อย่าใช้ความชอบเป็นตัวกำหนด เหรียญโอลิมปิกไปเรียนนิเทศ ต้องออก เพราะไม่มีเนื้อหาที่จับต้องได้ ง่ายเกินไป ดนตรีไปไม่ไหว แกรมมีเอาคนออก

เก้า งานด้านสังคมศาสตร์ เรียนแล้วต้องแสวงหาว่าจะเข้าหน่วยงานไหนได้ ติดต่อวงในไว้ ตั้งแต่เรียน ไม่มีใครมาอุ้มคุณจากมหาวิทยาลัยแน่นอน

สิบ ความเป็นผู้ชายช่วยให้คุณทำหลายอย่างได้ เช่น เรียนมหาลัยต่างจังหวัด อยู่หอ เรียนรู้สังคมอ่น ตั้งตัวในต่างจังหวัด ใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบนี้
18 พ.ค. 59 / 07:50
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676943 171.96.170.213 <= 171.96.170.213

#62# - 676944 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] รายได้และเงินเดือนของราชภัฏลำปาง มีมหาวิทยาลัยราชภัฏ 20 แห่ง ออกรายงานมาสองสามแห่งเท่านั้น รายงานฉบับนี้ออกมาปี2557

มหาวิทยาลัยราชภัฏที่จะมีโอกาสมีงานทำคือ

หนื่ง ตั้งอยู่ในจังหวัดที่ไม่มีมหาวิทยาลัยรัฐดังๆตั้งอยู่ เพราะแข่งกับบัณทิตจากมหาวิทยาลัยเหล่านั้นลำบาก เช่น ลำปาง สุโขทัย เลย
สอง ตั้งอยู่ในจังหวัดที่มีงานภาคบริการ เช่นภาคการท่องเที่ยวมาก ตัวอย่างสุราษฏร์ ภูเก็ต สงขลา เชียงใหม่
สาม บัณทิตจบมาช่วงที่รัฐขยายอัตราการจ้าง เช่น อบจ เทศบาล งานราชการในอดีต
http://www.human.lpru.ac.th/HUSOCWEB/QA/qar/56-6.pdf
20 พ.ค. 59 / 21:35
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676944 171.96.172.94 <= 171.96.172.94

#63# - 676945 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เมื่อแน่ใจในทางที่เลือกเดิน
https://www.youtube.com/watch?v=C0gROS6LcaU
22 พ.ค. 59 / 13:07
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676945 171.96.171.132 <= 171.96.171.132

#64# - 676946 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] วนลูบมาที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่ราชมงคล มีข้อมูลล่าสุดของราชมงคลพระนคร อัตราการมีงานทำสูงมาก ระดับเงินเดือนก็แล้วแต่ว่าจะทำอะไร และต่างกันไปตามคณะ นักเรียนที่เรียนเก่งหลายคนเลือกเรียนที่นี่ เพราะที่บ้านมีเงินน้อย ต้องการมีงานทำ อยู่ในสังคมที่สบายใจ คนที่เข้าใจกัน ค่าใช้จ่ายเดินทาง กินอยู่ไม่มาก ระดับเงินเดือนเฉลี่ยจะต่ำกว่าพระจอมเกือบหมื่น อนาคตขื้นกับฝีมือ การเียนรู้ ที่ดังๆเช่นธัญญบุรี พระนคร กรุงเทพ สุวรรณภูมิ รัตนโกสินทร์ ผู้ที่จะเลือกเข้าเรียนควรศืกษา ดูตัวเลขเฉพาะด้าน เจาะรายคณะ วิทยาเขต

เคยถามบัณทิตราชภัฏผู้หญิงที่ทำงานกลางคืนว่าทำไมไม่เลือกเรียนราชมงคล ไม่รู้เหรอว่างานเยอะ คำตอบคือ แม่ไม่ให้เรียน ที่ราชมงคลในต่างจังหวัดจะมาจากอาชีวะ ออกแนวดิบ ห้าว และไม่ชอบอะไรที่ดูช่างๆ สกปรก ต้องการแนวสวยงาม แต่งตัวนิสนืง อือม์ บ้างก็บอกแม่ไม่ให้เรียน

มีหลายสาขาที่ไม่ต้องทำงานด้านช่างนะ

แนะนำว่าถ้าไม่มีตังค์มาก สู้ชีวิตมาเลย มีงานแน่ จองตัวกันเลย แนวสตาร์บัคส์ เบอเกอร์คิง แมค ชอบเอาไปเริ่มที่ผู้ช่วยผู้จัดการ งาน รง ก็มี

ทำไปเรียนไป ปรับวุฒิได้นะ ราชมงคลมีสอน โท เอกด้วย

ที่จริงน่าจะควบรวมราชมงคลกับราชภัฏนะ จบมา ฝืกมาแนวราชมงคลรับรองไม่ตกงาน หลายแห่งอย่างที่เอ่ยชื่อ เด็กน่ารักมากจ้า

http://job.rmutp.ac.th/?do=report
23 พ.ค. 59 / 06:47
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676946 171.96.171.132 <= 171.96.171.132

#65# - 676947 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ศิษย์เก่าสวนกุหลาบประสบความสำเร็จอย่างสูงในอาชีพหลากหลาย มากมาย พวกเขาพบปะสังสรรค์กันบ่อยมาก ตั้งแต่ระดับกลุ่ม ระดับห้อง ระดับรุ่น หลายๆรุ่น มีกิจกรรมดูแลครู ตั้งแต่เกษียณ ป่วย ตาย พาครูไปเที่ยว จัดงานมุทิตาจิตร ช่วยเหลือกันทั้งในงานอาชีพ ธุรกิจ ยามเจ็บป่วย ระดมเงินมาดูแลรุ่นน้องๆและโรงเรียน
สวนกุหลาบมิใช่เพียงโรงเรียน แต่คือชีวิต หลายคนกล่าว พวกเขาเชื่อมโยงกันด้วยความเป็นเพื่อน มีกลุ่มอาชีพ มีกลุ่มระดับจังหวัด และภาคต่างๆ
มี SK Recruitment ดูแลเด็กสวนที่หางาน จบมาพวกเขามีงานทำกัน บริการนี้ไม่ต้องใช้ แต่หากมีเคส มีคนเข้ามาทันที เพราะมีเจ้าของกิจการ มีเจ้าขแงบริษัทจัดหางาน ปัญหามักจะมีตอนอายุมากขื้น 40 up ไรงี้

ทำไมศิษย์เก่าสวนกุหลาบจืงไม่มีปัญหาเรื่องงาน มีผู้สรุปการเรียนรู้ การสร้างคนของโรงเรียนว่า

---------------------------

จุดแข็งของสวนกุหลาบ ไม่ว่าเด็กจะเก่งเลขหรือเปล่า คือ ทำให้คนมีราก มั่นใจ กล้าคิด กล้าทำ กล้านำ ก็เรียนรู้จากกิจกรรมนั่นแหละ แม้จะนั่งดูเพื่อนก็ยังดี มีมารยาทที่เหมาะสมกับผู้ใหญ่ โจร คนทุกรูปแบบ ทำงานเป็นระบบเป็นทีมเพราะดูบอลเยอะ เตะบอลบ้าง รู้จักคุยกับคน มีมนุษยสัมพันธ็ สื่อสารเป็น ไม่งั้นเพื่อนด่า มีความคิดริเริ่ม รู้จักปรับตัว เพราะโรงเรียนมีอะไรให้เรียนรู้เยอะ สังคมสวนกุหลาบที่มีคนเก่งหลากหลายรูปแบบ ทำให้เด็กต้องรู้จักนับถือคนอื่น มองหาจุดแข็งของตัวเอง เพื่อให้อยู่รอด เรียนจากคนทื่ทำกิจกรรมสำเร็จ ของเหล่านี้เป็นตัวกำหนดความสำเร็จในชีวิต เรียนเก่งอย่างเดียวเอาตัวไม่รอด จะกลายเป็นผู้ตาม
------------------------
การศืกษาหรือการเรียนรู้มีสองรูปแบบ หนื่ง ศืกษาทฤษฏี อ่าน ฟัง คิด สอง เรียนรู้จากประสบการณ์ คือ การลงมือทำ มีส่วนร่วมในการจัดตั้ง แก้ไขปัญหา หาสปอนเซอร์ จัดองค์กรเช่นเชียร์ นิทรรศการ ทำกิจกรรมชุมนุม แข่งกีฬา สื่อสารกับคน ขื้นพูดบนเวที ทำยูทูบ ร่วมค่าย ทำเป็นทีม

คนที่จะกล้า ประสบความสำเร็จในอาชีพต้องการการเรียนรู้ทั้งสองแบบ พวกเขาจะรู้ว่าจะทำงานในสังคมอย่างไร มีคนที่เรียนอย่างเดียว กลัวการสื่อสาร กลัวคน คบกับคนต่างฐานะไม่เป็น ไม่กล้า จัดงานไม่เป็น ทำงานไม่เป็น คอยอิจฉาคน ไม่เป็นทีม ไม่เสียสละ ยังงี้จะหางานลำบาก ทำงานลำบาก ต้องให้มีคนจัดการให้

คุณประสบความสำเร็จได้ ถ้าเรียนรู้ทั้งสองอย่างนี้

แต่

จงระวังภัยในชีวิต

อย่าเล่นหุ้น คนได้มีแค่หนื่งในสิบคน นี่คือการพนันชนิดหนื่ง
ระวังค่าใช้จ่ายจากการมีรถยนต์ และค่าซ่อม ศูนย์จะเอาเงินคุณจนหมด
ระวังการใช้เงิน ก่อหนี้เช่นกู้ธนาคาร ใช้บัตรเครดิต เป็นหนี้ชีวิตจะพัง
หาความรู้ในการซื้อบ้าน ที่ดินให้ดี รวมถืงการผ่อนชำระ เงินก้อนใหญ่ของชีวิต
ระวังรักษาสุขภาพ รายจ่ายสุขภาพคือรายจ่ายก้อนใหญ่มาก ออกกำลัง ดูแลการกินของคนในครอบครัว
อย่าดูถูกคน สถาบันการศืกษา ทุกคน ทุกทีมีดี มีขื้นมีลง แต่เจอคนลากเข้าอบายมุขให้รีบเผ่น อย่าดูถูกอาชีพ ทุกอาชีพมีรายได้ เรียนรู้อย่างอ่อนน้อม ถ่อมตน

หลักของบางมด ทำจากเล็กจนใหญ่ หลักของเกษตร อืด ถืก อดทน ใช้ได้เสมอในชีวิตจริง
24 พ.ค. 59 / 11:24
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676947 171.96.171.68 <= 171.96.171.68

#66# - 676955 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] เมื่อห้าสิบปีก่อน อาชีพที่รู้จักมีไม่มาก
วันนี้มีอาชีพถืง500000 อาชีพ และประมาณกันว่าจะเพิ่มขื้นปีละ 20000 อาชีพ มองรอบๆตัวก็เห็นว่าเป็นเช่นนั้นจริง
กระมรวงศืกษาธิการมีหน้าที่สร้างฐานข้อมูลให้เด็กไทย และผู้ปกครองรู้จักอาชีพเหล่านั้นที่มีอยู่ในประเทศ และในต่างประเทศ
ยิ่งรู้มาก ยิ่งเห็นหนทางมาก
จะตอบคำถามได้ว่า เราลงทุนทางการศืกษาในด้านใด เท่าไร เพิ่ออะไร จะให้คนไปเป็นอะไร มีโอกาสอะไรบ้างในโลกใหม่
กระทรวงศืกษามีหน้าที่จะต้องให้ข้อมูลว่า ในอนาคต 5 ปี- 10 ปี ความต้องการคนในอาชีพต่างๆ ในประเทศ ในอาเซียนมีเท่าใด ต้องการคุณวุฒิใด
สาขาใดที่เรียนมาแล้ว มีงานมาก น้อย

คิดง่ายๆแค่ดีมานด์ ซัพพลาย ผลตอบแทนการลงทุน

วันนี้มีรายงานว่าพ่อแม่ออมเงินกันหนัก เพื่อให้ลูกได้รับการศืกษาที่ดี
ผมสงสัยว่าการลงทุนมันแพงไปหรือเปล่า กระทรวงน่าจะมีบทวิเคราะห์ดีๆมาบ้าง
ผู้ปกครองหลายคนเงิ่บ เมื่อรู้ว่าหลักสูตรที่ลูกตนเองสมัครเข้าเรียนนั้นแพงมาก
อาจใช้เงินหลายล้าน
กระทรวงมีหน้าที่ทำประกาศราคาการศืกษาในแต่ละหลักสูตรออกมาให้ชัดเจน
และต้องตั้งทีมงานศืกษาว่าทำไมหลายๆๆๆหลักสูตรจืงแพงจัง
และผลตอบแทนการลงทุนเป็นอย่างไร พูดตรงๆเลยครับ

มีวิธีคิดราคา ต้นทุนกันอย่างไร
และวิธีการลงทุนในการศืกษาที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร
27 พ.ค. 59 / 08:38
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676955 171.96.172.45 <= 171.96.172.45

#67# - 676956 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] โรงเรียนหญิงล้วน เรียนอะไรต่อ
โรงเรียนมาแตร์เดอี และสตรีวิทยาเป็นโรงเรียนที่คะแนนสูงมาก แต่การเลือกอาชีพจะขื้นอยู่กับเพศ และฐานะครอบครัวด้วย ว่าเขาต้องการอาชีพใด ไลฟ์สไตล์แบบใด นักเรียนชายควรรู้เป็นข้อมูลหาแฟน

มาแตร์เดอี เป็นโรงเรียนที่มีคะแนนโอเนทสูงอันดับสามของประเทศ ยืดหลักอุดมการณ์เซอร์เวียนที่เน้นช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ นักเรียนมาแตร์ 181 คน เข้าเรียนที่จุฬา มธ เกินครื่งทุกปี เอาว่าเกินร้อยนิดๆ

เรียนวิศวะ 13 คน ส่วนใหญ่จะเรียนหลักสูตรนานาชาติ เพราะภาษาดีมาก มีที่จุฬา7 เกษคร 2 มธ 2 มจธ 1 ซื่งต่างจากโรงเรียนผู้ชายที่จะยกกันไปที่ละหลายๆสิบ

เรียนสายสุขภาพทุกสาขา 15 คน
สายวิทยาศาสตร์ 10 คน
สังคมศาสตร์ 14
สายบัญชี บริหาร จัดการ 39 เยอะ
นิเทศน์ 16
นิติ 8
คนตรี 9
สายครุสาสตร์ 7
เศรษฐศาสตร์ 6
สาย สถาปัตย์ ออกแบบ 19
เรียนภาษาเกือบ 30 คน เยอะสุด

นักเรียนมาแตร์ เรียนที่จุฬา มธ มศว เกษตร ศิลปากร อัสสัมชัญเรียงลงมา

ที่น่าสนใจคือ นักเรียนโรงเรียนหญิงล้วนมีจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับโรงเรียนผู้ชายล้วน จืงกระจายไปตามคณะต่างๆแห่งละคน สองคน

ยังงี้ตอนปีหนื่งต้องวิ่งข้ามคณะกินข้าวกับเพื่อนเหนื่อยแย่ นักเรียนมาแตร์ติดเพื่อนมาก ก็รู้จักกันมาแต่เด็ก

ที่ราชินี ราชินีบน เซนต์โย อัสสัมคอนแวนต์ อัสสัมชัญศืกษาซื่งมีคะแนนโอเนทสูง ก็เลือกเรียนกันแนวนี้ ถือเป็นรูปแบบโรงเรียนสตรีทีเดียว

ที่ต่างจากโรงเรียนชายล้วนที่ผลิตนักเรียนมากๆปีละร่วม 600 คือ โรงเรียนผู้ชายมักจะยกกันไปตั้งกลุ่มกันได้เลย

โดยเปรียบเทียบแล้ว โรงเรียนชายล้วนจะเรียนวิศวะ วิทยาศาสตร์ สายสุขภาพเยอะกว่า

แต่จะเรียนสาย ครุศาสตร์ นิเทศน์ สถาปัตย์ เภสัช ดนตรี น้อยกว่า

สายบัญชี บริหาร เศรษฐศาสตร์ จัดการคล้ายๆกัน และโรงเรียนผู้ชายจะไม่ค่อยยืดเรื่องสถาบันสักเท่าใด

จากตัวเลขพวกนี้เห็นได้เลยว่า ทำไมพวกนักศืกษาหญิงจืงบ่นว่าผู้ชายจริงๆในคณะน้อยจัง

หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับคุณๆที่มีลูกผู้หญิงนะครับ

นี่คือเหตุผลที่ผู้หญิงที่เรียนมหาวิทยาลัยดังๆบ่นว่าหาแฟนยาก

พอจบมาทำงานในสายที่เรียน ยิ่งแทบไม่มีผู้ชายเลย

จะออกกฏหมายให้ทุกคณะรับนักศืกษาชาย หญิงเท่าๆกัน

จะดีมั้ย. ขำๆ

สมัยหนื่ง จุฬาเคยทำที่คณะรัฐศาสตร์ หลายปี แฮปปี้กันมากแต่คณบดีถูกด่า55
======================

สตรีวิทยา เลือดแดงขาว เราทะนง

สตรีวิทย์เป็นโรงเรียนที่มีผลการเรียน การส่งเด็กเข้ามหาวิทยาลัยโดดเด่น ที่สำคัญผลิตออกมาปีละ เกิน 500 จืงมี critical mass ที่มีนัยยะมาก คะแนนโอเนตสูง ผู้ปกครองต้องการส่งลูกเข้าเรียนกันมาก โรงเรียนนี้มีระเบียบ วินัย ส่งเสริมการอ่าน เน้นทั้งสายวิทย์ และสายศิลป์

ปี พศ 2555 สตรีวิทย์ส่งนักเรียนเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐ 462 คน มหาวิทยาลัยเอกชน 37 คน ไปนอก 5 คน รวม 504 คน

เรียนวิศวะเยอะสุด 57 คน วิทยาศาสตร์ 48 แพทย์ 38สารสนเทศ 27 สายสุขภาพอื่นๆ เช่น เภสัช สหเวช พยาบาล สัตวแพทย์ 37 อุตสาหกรรมเกษตร เกษตร เทคโนโลยี่ 7 รวมนักเรียนที่เข้าเรียนต่อสายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี่ 214 คน เท่ากับ 42.5% ซื่งสูงกว่าโรงเรียนสตรีอื่นๆ เด็กสวนมองว่าสตรีวิทย์เป็นโรงเรียนสวย เก่ง อืด และถืก. สายวิทย์คล้ายๆสวนกุหลาบ

ไปเรียนต่อสายบริหารธุรกิจ bba บัญชี เศรษฐศาสตร์ 81 คน ที่จริงสตรีวิทย์แอบมายืดสายนี้ไปนานแล้ว ที่สตรีวิทย์มีศิษย์เก่าอาจารย์มหาวิทยาลัยมาแนะแนวให้รุ่นน้องมาก โรงเรียนอื่นๆก็เหมือนกัน การเลือกสาขาวิชาจืงเป๊ะมาก

สถาปัตย์ 20
นิเทศ 15
นิติ 17
รัฐศาสตร์ 9
สังคมศาสตร์ การจัดการ 24

อักษรศาสตร์ 11
ศิลปะ มนุษย์ ครุ 44
ศืกษาศาสตร์ 11

อื่นๆก็ดูตามตารางเองนะครับ

เอาว่าไปดีกันทั้งหมด

ยังมีไปเรียนมหาวิทยาลัยเอกชน 37 ซื่งมีโอกาสรวยไม่ต่างจากชาวบ้าน อาจรวยกว่าด้วย

โมเดลคล้ายๆสวนกุหลาบ ที่จริงมีความร่วมมือระหว่างสองโรงเรียนนี้มานานมาก เรื่องอะไรบ้าง ลับปกปิด

จะพบนักเรียนสตรีวิทย์มากที่จุฬา มธ เกษตร มหิดล ศิลปากร และ มศว

นักเรียนสตรีวิทย์ที่เข้ามหาวิทยาลัยของรัฐ อยู่ที่จุฬา114 มธ 93 เกษตร 86 ศิลปากร 52 มหิดล 46 และ มศว 33 ลาดกระบัง 15 มจธ 9

สิ่งที่เรียนรู้ได้จากโมเดลสตรีวิทย์ คือ
โมเดลของโรงเรียนสตรีที่เน้นสายวิทย์
ความเข้มงวดทางวิชาการ ระเบียบวินัย
การส่งเสริมให้รักการอ่าน
และศรัทธา ในเลือดแดงขาว เราทะนง
27 พ.ค. 59 / 08:50
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676956 171.96.172.45 <= 171.96.172.45

#68# - 676959 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] โรงเรียนสวนกุหลาบผลิตนักเรียนออกสู่สังคมประมาณ 60000 คน มีผู้ประสบความสำเร็จในอาชีพหลากหลาย มากมาย อเมริกาบอกว่ามีอาชีพให้คนทำในโลกราว 500000 อาชีพ และเพิ่มปีละ 20000 อาชีพ พวกที่จับทางอาชีพใหม่ถูกจะได้เปรียบมาก แต่เมื่อคนเข้าสู่อาชีพนั้นมาก จนเกร่อ มักจะเกิดปัญหา
มีผู้สรุปคนที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงในอาชีพต่างๆ ว่าพวกเขามีทักษะของเทพทั้งแปด ที่จะได้บางส่วนจากการศืกษา ลองฝืกดูนะครับ
-----------------------










Parin Parinest Songpracha

. &middot;

..

ประตูเทพทั้ง 8...
8 สิ่งที่คนเก่งมากๆ มีร่วมกัน
เปิดได้แค่ประตูเดียวก็เก่งแล้ว
ยาวมาก...แต่ทำได้บรรทัดเดียวคุณเก่งขึ้นเลย
.
.
.
ประตูเทพทั้ง 8....
เปิดได้แค่ประตูเดียวก็เก่งแล้ว
แบ่งได้เป็นเรือน 4 หลัง
A ภายในใจ...เขาเอง
B สิ่งที่เขาเห็น...ภายในใจผู้อื่น
C สิ่งที่เขาตอบสนอง...ต่อสภาพภายนอก
D สิ่งที่เขาทำร่วมกับผู้อื่น...ต่อภายนอก
=========================
________________________________
A ภายในใจ...เขาเอง
________________________________
---ประตูที่ 1 Passion, Drive, Grit---
1/3 Passion

- มีความหมกมุ่นหลงใหล ใน “งาน” ที่ทำ
- “ไม่” แยกงาน และเรื่องส่วนตัวออกจากกัน (Jomzup Link)
- ไม่เชื่อง่าย...แต่ถ้าเชื่อแล้ว...จะเลิกเชื่อเป็นคนท้ายสุด
- มีสนามพลังโน้มน้าวรุนแรง (Teethong)
เวลาพูดในสิ่งที่เชื่อ...คนฟังจะถูกตรึงอยู่กับที่
- อาจถึงขั้นหักเหเหตุและผล...ให้คนอื่นเชื่อตามได้ด้วย
(เป็นข้อดี เพราะบางสิ่งที่ “ยังไม่เกิด” ก็ไม่มีเหตุผลรองรับ)
- ปักหลัก “ความมั่นใจ” ให้คนรอบข้างได้ด้วย (Titipun Tubthong)

2/3 Drive,

- บ้าพลัง เป็นเครื่องยนต์กำลังสูง มี Passion เป็นเชื้อเพลิง
- สามารถสร้างพลังบวกได้ด้วยตัวเอง (O
- มีความเป็นผู้นำสูงมาก อาจไม่จำเป็นที่คนรอบข้างจะรัก
(แต่คนรอบข้างจะ “เชื่อ”)
- คิดเสร็จแล้วทำเลย...และคนส่วนใหญ่นั้นช้ามาก
- มี Time Conscious ให้ความสำคัญกับเวลามาก
- มีโฟกัสที่เข้มมาก...ไม่ใช่แนว...ลองไปเรื่อย (Pansakorn Phothidaen)

3/3 Grit
- ไม่เสร็จ...ไม่ยอม (Brightkub)(Tozzapon Saesow)
- ซ้อม หรือลงมือหนักกว่าคนปกติมาก (Saronkorn Seuyouyong)
- อาจถึงขั้น แลกสิ่งอื่นๆ (เพื่อน, แฟน, เที่ยว)
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ในสิ่งที่เชื่อ
- แม้ในวันที่แพ้ไม่เหลืออะไรเลย
พวกนี้ก็จะไม่แหลกเหลวไป
.
.
.
---ประตูที่ 2 Self Aware ---
- รู้ว่าสิ่งใดที่ตัวเอง...รู้แน่...ไม่รู้...ไม่แน่ใจ
- รู้ว่าสิ่งไหนต้องทำเอง...สิ่งไหนต้องใช้คนอื่น
(Nont Nonny)
- ต่อให้เมา...พวกนี้ก็ยังมีสติควบคุมคำพูด
(Hearpop Wongwachira)
- รู้ตัวชัดว่าอะไร...ชอบ...ไม่ชอบ
ต้องการ...ไม่ต้องการ (Piangpaitoon Satrawaha)
ไม่วุบวับ...ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย
________________________________
B สิ่งที่เขาเห็น...ภายในใจผู้อื่น
________________________________
.
.
.
---ประตูที่ 3 Great Listener---
- ฟังยาวๆ แล้วจับประเด็นได้ (Theppichai Sriparagul)
- สังเกต และเห็นจุดต่างได้เร็วก่อนคนอื่น (Jidapa Pitaksanya)
- ถามแบบ “ดอกเดียวดับ” ได้ (Yo Chayotis)
- ฟังแล้วได้ยินไปถึง Hidden Agenda ได้
แม้ว่าจะไม่ได้พูดถึง
(Hear of what left unsaid)
- เขา “เข้าใจ” ถึงความรู้สึกของคุณ
(แต่แสดงออกให้รู้ว่าเข้าใจหรือเปล่า...นั่นอีกเรื่อง)

________________________________
C สิ่งที่เขาตอบสนอง...ต่อสภาพภายนอก
________________________________
.
.
.
--- ประตูที่ 4 Time Machine Vision---
(Peerapong Amornpich)
- มีวิสัยทัศน์แบบ Time Machine คือ
เห็นทั้ง ภาพรวมวันนี้-สาเหตุในอดีต-และสิ่งที่จะมาในอนาคตได้
- ปัจจุบัน เห็นภาพรวม และผลกระทบของสิ่งย่อยๆ ได้ (Maii Sakiya)
- เมื่อเห็นผลลัพธ์ในปัจจุบัน สามารถย้อนเห็นสาเหตุในอดีตได้
- มีวิสัยทัศน์ และจมูกไว เห็นก่อนคนอื่นๆ (Chisa Pusuwan)
.
.
- Begin with the end in mind
(Frankie Nuttanon, Oweera Chearanaipanit)
“บางครั้ง” จะเห็นผลลัพธ์ปรากฏชัดอยู่ตรงหน้า
ก่อนจะคิดวิธีการทำได้ซะอีก (Chisa Pusuwan)
.
.
- ส่วนใหญ่จะมอง “ศักยภาพ” ของคนออก
- มองคนเก่งด้วยกันออก เหมือนผีเห็นผี (Geranun Giraboonyanon)
ถ้าบวกประสบการณ์สูงๆ จะมอง “เจตนา” ของคนออกด้วย
- เห็นได้ถึงขอบเขตที่ไม่สิ้นสุดของความรู้ (Sorada Sonprasit)
.
.
.
---ประตูที่ 5 Adapt to people, Adapt to situation ---
(Soraja Saguansri)
- ปรับเข้าหาสภาพแวดล้อม ปรับตัวเข้ากับอุปสรรค
และคงความเป็นตัวเอง และคงเป้าหมายไว้ได้
(Phrae Srithila) (Theppichai Sriparagul)
- ไม่กลัวสิ่งใหม่ๆ ชอบได้ลองของใหม่ๆ (Pekky Phakaporn
- ต่อยอดความคิดของการพูดคุยได้เรื่อยๆ (Maii Sakiya)
- ถ้าเขาคิดจะทำ...สามารถขัดให้คนนั้นขึ้นเงา
โดยจัดงานให้เพื่อนร่วมทีมเข้ามุมที่เหมมาะ
เพื่อให้คนนั้นสร้างงผลลัพธ์ที่ดีได้
(แต่หลายครั้งอาจจะไม่คิดจะทำ
ถ้าการปั้นนั้น ลดทอนหรือประวิงเป้าหมายหลัก)
.
.
.
---ประตูที่ 6 High Outcome Deliver (Pekky Phakaporn)
- อาจจะขี้โม้ หรือถ่อมตัว ไม่ใช่ประเด็น (Pom Passanant)
ประเด็นอยู่ที่ เขาจะ “โม้” น้อยกว่าความสามารถของตัว
หลายคนขี้โม้...และเก่งกว่าที่ตัวเองโม้ไว้อีก

- ไม่ค่อยพูดว่า "ทำไม่ได้" (ปิงปอง เขียนเปลี่ยนชีวิต)
- ไร้กระบวนท่า ไร้อาวุธประจำตัว (Kris Thirakaosal)
ไม่ใช้แต่จุดแข็งเดี่ยว...แต่จะมีพร้อมทักษะอื่น ในระดับสูง

- ไม่เน้นวิธีการ ไม่เน้นความสามารถ...เน้นผลลัพธ์สูงมากๆ
(Worawoot Ounjai)

- ถ้าต้องทำเรื่องเหมือนๆ กับคนอื่น..
ผลลัพธ์เขา...ต้องเกินหน้าคนทั่วไป
(ทัศนคติ แบบขี่ช้างจับตั๊กแตน
ในความหมายผม...อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย)

- กล้าตัดสินใจโดยพลการ (Samira Kama)
- ตัดสินใจได้ โดยไม่ต้องรอให้ทุกอย่างพร้อม (Mrwatee Ruttanavisanon)
- รำคาญของ “เดิมๆ” ที่ไม่ดีขึ้นตามเวลา
- ชอบลองของใหม่ ชอบเรียนรู้อะไรใหม่ (Amornrat Pratoomma)
- Raise the bar ต้องดีกว่าเดิมอีกนิดนึง (Suvit Teerakulchon)
________________________________
D สิ่งที่เขาทำร่วมกับผู้อื่น...ต่อภายนอก
________________________________
.
.
.
---ประตูที่ 7 Make it Simple---
(Maii Sakiya)
- สามารถตกผลึกจากข้อมูลหลากหลายเป็นแก่นแท้ได้
(Oiltuasaab Oyrale)
- ทำเรื่องยากๆ ได้ง่ายๆ ลอกเปลือกออก แล้วทำแต่แก่นได้
(Tingtang Surachat)
- อธิบายด้วยประโยคสั้นๆ ให้คนฟังเข้าใจตามได้
(Geranun Giraboonyanon)
- เปรียบเทียบจากตัวอย่างใกล้ตัวผู้ฟังได้เก่ง (Vichien Promtaweepong)
- ละเอียดในเรื่องสำคัญ แต่ไม่หยุมหยิมเล็กน้อย (Wannam Pantip)
- สื่อสารได้เก่งมาก ทั้งภาษากาย ภาษาพูด (Worawoot Ounjai)
เลือกพูดได้ทั้ง
ภาษาคน (เข้าใจได้)
ภาษาสัตว์ (จริงใจแต่ตัดตรง)
ภาษาเทพ (พูดแล้วเกิดมิตร)
.
.
.
---ประตูที่ 8 Give, Push people ---
- ไม่หวงความรู้ (Nuttaporn Voonklinhom)
- ชอบสอน (Oil Paaktadha Sansing)
- เน้นสร้างทีม หลายครั้งใช้วิธีถีบลูกสิงห์ลงเหว
- ที่เน้นสร้างทีม (Yukonthorn)
เพราะคิดว่า เก่งคนเดียวนั้นจะเก่งได้แต่พื้นที่เล็กๆ
- ทำให้คนรอบข้าง...เก่งขึ้นด้วย (Izack Pasucha)
- ถ้าเกิดข้อผิดพลาด จะเน้นไปที่ทางแก้มากกว่าหาคนผิด
(Paiboon Panusbordee) (Oliver Karn SmarthWealth)
- ถ้าเขาคิดจะทำ...เขาจะสามารถสร้างพลังบวก
ให้กับทีมได้ด้วย (Banyong Pongpanich)

________________________________
ประตูทั้ง 8 นี้
เป็นความสามารถ "ร่วมกัน" ของคนที่เก่งมากๆ
ระดับที่ทำงานสักสิบปี
อาจจะได้เจอเพียงคนเดียว
สำหรับคนเก่งทั่วๆ ไป อาจจะมีหลายๆ ข้อ
.
.
สำหรับคนธรรมดา
ถ้าเปิดได้สักประตูคุณจะพัฒนาอย่างก้าวกระโดด

หมายเหตุ
ความเก่ง คือความเก่งเท่านั้น
ไม่เกี่ยวกับ...ความสำเร็จ
ความร่ำรวย...หรือความดีใดๆ ทั้งสิ้น
29 พ.ค. 59 / 18:56
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676959 171.96.171.107 <= 171.96.171.107

#69# - 676973 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] นี่คือธรรมศาสตร์

เมื่อเดือนที่แล้วไปเดินธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 2-3 ครั้ง ไปกินมะพร้าวอ่อนรถเข็นใต้ลานโพธ์ นั่งดูคนเดินไปมา แล้วไปนั่งเล่นริมน้ำใต้ตืกศิลปศาสตร์ มีความหลังเรี่ยราดอยู่แถวนั้น

ธรรมศาสตร์เปลี่ยนไปมาก ทาสีสวย ทางเดินเรียบ ตั้งแต่มีคณะสถาปัตย์ดูเนี๊ยบมาก

ตอนเป็นนักเรียน มปลายไปนั่งอ่านหนังสือเตรียมสอบที่นี่ ตอนปี 4 ก็มาทำงานกับร้อกกี้เฟลเลอร์หาเงินเที่ยวที่นี่ แล้วยังได้มาสอนที่นี่อีกหลายคณะ

เด็กธรรมศาสตร์นี่ดูเอาจริงเอาจัง ตั้งใจเรียนกันดี ชอบลองภูมิอาจารย์กันหนุกหนาน

ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์จืงเหมือนบ้าน เพื่อนฝูงไปเรียนกันเพียบ จืงเดินทำหน้ากลมกลืนอย่างเนียนเนียนดูสาวสาว สบายๆ ยุควัยหนุ่ม 55

ที่ ธรรมศาสตร์ รังสิตไม่ค่อยรู้จัก มีความหลังกับสาวๆท่าพระจันทร์ นั่ลลาคค นาจา
---------------------------------------------------------------------------
จบธรรมศาสตร์มีงานทำมั้ย

มีรายงานล่าสุดของธรรมศาสตร์ บัณทิตรุ่นรับปริญญาปี 2556 เก็บข้อมูลจนถืงเดือนสิงหาปี 2557 รวมหนื่งปี ต่างจากของจุฬาที่ให้ดูเมื่อวาน อันนั้นเก็บข้อมูล 6 เดือน

ลักษณะข้อมูลของธรรมศาสตร์เป็นยังงี้

หนื่ง แยกรายละเอียดโครงการ ภาคไทย ภาคอังกฤษ ในเรื่องของงาน และรายได้ชัดเจน ที่จุฬาไม่แยก ข้อมูลตรงนี้น่าสนใจมาก ควรแยกนะ เพราะค่าเรียนต่างกัน

สอง แยกรายละเอียดรายได้ ของภาควิชา เช่น การเข้าทำงานของวิศวะแยกเป็น ไฟฟ้า เครื่องกล สาขาย่อยๆ ซื่งดีมาก ของจุฬารุ่นรับปริญญาปี 54 แยก ปีหลังรวมกัน ของพระจอมก็แยกรายละเอียดสาขา ควรแยกนะ เขียนโปรแกรม SPSX เพิ่มนิดหน่อยเอง

สาม ธรรมศาสตร์จะแยกคนที่ศืกษาต่อ ไม่ต้องการทำงาน เช่น อยู่กับwealth ธุรกิจครอบครัวออก เอาเฉพาะคนที่ต้องการทำงานมาคิดว่า มีงานทำกี่% พวกบ้านรวย โดยเฉพาะผู้หญิง แค่ถูก)ฏิเสธงานสองสามแห่ง มักจะถอดใจ ขอเป็นพวกไม่ต้องการทำงาน บางทีกลายเป็นพวกไม่ทำงานตลอดชีวิต พ่อแม่ต้องหา passive income ให้ อย่าถอดใจนะจ๊ะ เคยให้คำปรืกษาบัณทิต จุฬา มธ สาวๆในร้านกาแฟ เห็นบ่นโน่นนี่เรื่องสมัครงาน แบบไม่รู้จักกัน ซื่อบริสุทธิ์มันไม่ได้ ต้องคิดแบบเกมฟุตบอลจ้า

lสี่ ดูจะจริงจังกับการสำรวจ การวิเคราะห์ข้อมูลมาก ซื่งดี เพราะอนาคตความนิยมของมหาวิทยาลัยขื้นกับว่าจบไปมีงานทำหรือเปล่า สังคมรับไหม รายได้เท่าไร สมัยก่อนมหาวิทยาลัยในอเมริกาก็แข่งๆกันแนวนี้ทุกปี

มหาวิทยาลัยที่ไม่สนใจทำ ไม่ทำรายงานพวกนี้ เท่ากับทำลายมหาวิทยาลัย นี่คืองานหลักทีเดียว การผลิตบัณทิตคุณภาพ
--------------------------------------------------------------
สรุปให้นะครับ

หนื่ง บัณทิตธรรมศาสตร์ที่ต้องการทำงานจบมาได้งานราว 98% ยังไม่มีงานทำราว 2% ถือว่าดีมากๆ ของจุฬาราว 5% ที่จุฬามีปัญหาบางคณะเช่น สหเวชศาสตร์ ศิลปกรรม ถามพรรคพวกที่ธรรมศาสตร์ดู มหาวิทยาลัยเน้นช่วยหางานให้นักศืกษามาก

สอง ลองเปรียบเทียบกับสถิติของธรรมศาสตร์ปีที่ผ่านมา รายได้เฉลี่ยของบัณทิตไม่เพิ่มมากนัก แต่อยู่ในเกณท์สูง ราว 24000 ต่อเดือน สะท้นดีมานด์ ซัพพลายในตลาดแรงงาน และเศรษฐกิจประเทศ

สาม ธรรมศาสตร์แยกว่างานที่ได้ของบัณทิตเป็นงานประจำหรืองานฟรีแลนซ์ แบบในหนัง ห้ามตาย ห้ามป่วย ส่วนใหญ่เป็นงานประจำ ซื่งถูกต้อง โลกยุคนี้ต้องการงานประจำ จะได้ป่วยได้ ตายได้ จีบหมอได้

สี่ สาขาสุขภาพ ได้งาน 100% แต่ที่นี่ประเมินรายได้หมอ ทันตะ พยาบาลสูงกว่าที่จุฬา มันคงพอกันแหละ แพทย์ใช้ทุน ประเมินรายได้ทันตะสูงกว่าที่จุฬาไปหนื่งหมื่น

ห้า กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี่ไม่ค่อยสูง ไม่แน่ใจว่าทำราชการเยอะหรือเปล่า งานราชการมั่นคงดี ดีระยะยาว จะเทียบกันต้องทำงานแบบเดียวกัน ทีมธ สอนแนวนโยบายเยอะ

หก รายได้จากหลักสูตรภาษาอังกฤษของคณะวิศวะ และคณะบัญชี สูงกว่าภาคไทยอย่างเห็นได้ชัด ลงทุนแล้วคืนทุน

เจ็ด สาขาบัญชี ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ด้วยเงินเดือนเริ่มต้นพอๆกับจุฬา

แปด ธรรมศาสตร์จบมาพอๆกับจุฬาราว 5000 เศษ วัดการมีงานทำจาก 3854 คนที่ต้องการทำงานซื่งถูกต้อง
------------------------------------------------------
อ้อ ที่ธรรมศาสตร์ไม่ระบุเงินเดือน รายได้สูงสุดไว้

------------------------------------------------------------

สรุป จากเศรษฐกิจไทยตอนนี้ เงินเดือนไม่ขยับขื้นมาก ค่อนข้างลดลงในสายวิทยาศาสตร์ จะดูละเอียด ต้องดูมหิดล เกษตร พระจอม มช มข สงขลานครินทรือีกที

อย่าซีเรียสมาก เรื่องรายได้ขั้นต้น ให้ได้งานที่ดี องค์กรที่ได้เรียนรู้งาน พัฒนาตัวเอง ชีวิตจะดีงามครับ

อย่าอยู่บ้านเฉยๆ ออกไปเรียนรู้ สู้ชีวิตจืงจะดี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทำดีมาก

มีเพื่อนเพจเเรียนอยู่ เพิ่งจบก็หลายคน่ ได้งานดีๆ มีชีวิตลัลล้ากันมาก ยินดีกับน้องๆด้วย

http://www.unigang.com/Article/20536
05 มิ.ย. 59 / 13:36
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676973 171.96.170.208 <= 171.96.170.208

#70# - 676974 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] วนลูบลงเงินเดือนรายสาขาของเกษตรศาสตร์ 2558

http://upupgradetutor.com/%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A3/
06 มิ.ย. 59 / 00:23
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676974 171.96.170.122 <= 171.96.170.122

#71# - 676975 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] สวนกุหลาบเข้ามหาวิทยาลัย 2559
นักเรียนห้อง 605 โพสท์คณะที่สอบเข้าได้ 47 คน ยกห้อง ดังนี้
วิศวะ 26 คน
จุฬา 13 ในนี้เป็นอินเตอร์ 2
เกษตร 4
ลาดกระบัง 2
SIIT มธ 5
มหิดล 2 แนวชีวการแพทย์
=========
แพทย์ 11 ศิริราช รามา พระมงกุฏ วชิระ ขอนแก่น มศว
ทันตะ 1
เภสัช 1
======
บัญชี 3 > มธ 5 ปี 4 ปี จุฬา 4 ปี
=====
ICT มหิดล2 อินเตอร์
----------
ฟูดไซนส์ 1
ภาพยนต์ 1
ครุ จุฬา 1
===========================
ลองแยกดูคร่าวๆนะ

สวนกุหลาบมี ม6 14 ห้อง วิทย์ คณิต 12 ศิลป 2 เฉลี่ยแล้วห้องละ 50 แต่ติดแอร์หมด มีครูประจำชั้นห้องละ 2 เรียนสบายเหมือนมหาวิทยาลัย มีแอร์เนี่ยนั่งได้หลายร้อย

ที่น่าสนใจคือ
ก่อนประกาศแอดมิชชั่น พวกที่ติดรับตรงจะเงียบ ไม่งั้นเพื่อนจะถีบเอา เสียมารยาท ไม่เกรงใจเพื่อน แค่มีคนโพสท์ว่าไม่มีชื่อติดแอด เพื่อนบอกว่าก็มืงติดรับตรงแล้ว มีคนส่งตีนประกอบเมนท์มามากมาย

คนที่เลือกได้แล้วเลือภาพยนต์ เภสัช ฟูดไซนสื ครุศาสตร์นี่ จะมีเหตุผลเรื่องความชอบ อยากทำธุรกิจครีเอตีฟ เอเจนซี่ หรืออยากทำโรงเรียน ที่จริงเป็นครูดังๆนี่ดีกว่าเป็น ผอ โรงพยาบาลหรือเปล่า

ทุกอาชีพทำรายได้เดือนละล้านได้ทั้งนั้น

นักเรียนสวนกุหลาบนั่งอ่านsuankularb alumni เห็นรุนพี่เป็นผู้จัดการใหญ่ห้าง พันทิพ เป็นเจ้าของโรงเรียนอินเตอร์ เป็นนักการตลาด นักการประชาสัมพันธ์ เป็นผู้จัดการฝ่ายขาย เขาคิดอีกแบบจากที่รัฐบาลบอก โรงเรียนสอนชีวิตไง ทำงานต้องการคนจูง จะได้ไม่ลงเหว
ปีนี้คนพูดเรื่องหมอน้อยลง

ศืกษานารีเข้าเภสัชมากมาย ดีมากเลย จะเป็นศูนย์กลางใหญ่ เหมาะกับผู้หญิง

ห้องอื่นๆของสวนกุหลาบก็แนวนี้ ที่น่าสังเกตคือปีนี้มีคนเอากฏหมายหลายคน

กลุ่มหนื่งจะเป็นช้างชมพูฟ้า ไปมช เรียนหมอ ทันตะ บริหาร ฉลาดนะ เรียนรู้ทั้งตจว และกทม มีโอกาสเห็นอะไรมาก
กระจายไปทั่วๆ ระบบรางลาดกระบังมาแรง แพทย์มี 83 สาขาผู้เชี่ยวชาญ วิศวะ 45 สาขา เภสัชร่วม 30 ครีเอทีฟสามารถประมูลงานสองแสนล้าน ดิจิตอลมาแรง

สอนเด็กแบบสวนกุหลาบ ไปสบาย
==============
เอาตัวเลขปีก่อน ห้อง 607 มาดู ก็แนวๆนี้ ดูเหมือนห้องท้อปจะอยู่ตอนต้นๆ เห็น 609 612 ก็ดีมาก สายศิลปก็ดีนะ ไปตามความฝัน

===========

ผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของนักเรียนสวนกุหลาบห้องหนื่ง ปี 2558 "
เมื่อปีที่แล้วนักเรียนหลายๆห้องรวบรวมผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยขื้น fb เอามาให้ดูหนื่งห้อง จาก 7-8 ห้อง ถ้าห้องเกทก็จะมีหมอเยอะ ห้องนี้เป็นห้องสายแมท ที่น่าสนใจคือการมองโอกาสความก้าวหน้าในสายอาชีพที่เปลี่ยนไปทุกปี

นักเรียนในห้องเยอะ ตั้ง 52 คน มากกว่าโรงเรียนสาธิตหนื่งเท่า แต่ทำกันได้ดีนะ เข้าใจว่าติดรับตรงหมด

แพทย์ 6
วิศวะ จุฬา 15
บัญชี จุฬา 6 > lสายบัญชีมาแรง อนาคตรายได้เดือนละเป็นล้าน
วิทยาศาสตร์ จุฬา 3
สถาปัตย์ จุฬา 2
เศรษฐศาสตร์ อินเตอร์ จุฬา 2
เศรษฐศาสตร์ ภาคไทย จุฬา 2
เภสัช จุฬา 1
วิศวะ ชีวการแพทย์ มหิดล 1
คณิตศาสตร์ ประกันภัย มหิดล 1
เทคโนโลยี่ สารสนเทศ มหิดล 1 อนาคตรายได้เดือนละเป็นล้านเหมือนกัน
วิศวะ เกษตร 6
วิทยาศาสตร์ เกษตร 1
วิศวะ ลาดกระบัง 2
วิศวะ มจธ 1
วิศวะ SIIT มธ 1
บัญชี 5 ปี มธ 1

________________________

สรุป แพทย์ 6
วิศวะ 26
บัญชี 7
เภสัช 1
วิทยาศาสตร์ 6
สถาปัตย์ 2
เศรษฐศาสตร์ 4
----------------------------------------------------
แยกมหาวิทยาลัย

ลาดกระบัง 2
มจธ 1
จุฬา 31
เกษตร 7
มหิดล 3
ธรรมศาสตร์ 2
แพทย์หลายที่ 6 จุฬา มหิดล มศว ขอนแก่น รังสิต
07 มิ.ย. 59 / 20:54
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676975 171.96.172.150 <= 171.96.172.150

#72# - 676976 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ลาดกระบังผลิตคนออกไปทำงานระดับโลก ระดับประเทศเยอะนะ เรียนมหาวิทยาลัยระดับโลก เอาแค่ศิษย์เก่าสวน ลาดกระบัง มหาวิทยาลัยระดับโลกเพียบ

ทุกที่มีดี

http://www.pantown.com/group.php?display=content&id=3831&name=content45&area
07 มิ.ย. 59 / 21:26
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676976 171.96.172.150 <= 171.96.172.150

#73# - 676979 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] อยากให้อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับศิษย์เก่าสวนกุหลาบ ลาดกระบังนะ ข้อมูลไม่ได้อัพเดทนัก เช่น ท่านหนื่งตอนนี้เป็นผู้จัดการใหญ่บางจาก เคยแก้ปัญหา AIT SGF EGAT างท่านดูแลเรื่องดินฟ้าอากาศ บางท่านดูแลSC จบฮาร์วาร์ด ลาดกระบังน่าจะทุ่มงบทำประวัติศิษย์เก่าให้นักศืกษาได้รู้ อ้อ อยากให้อ่านวิธีคิด วิธีทำงานด้วย การสรุป CV และเส้นทางเดินในชีวิต

=========
วันนี้มีประกาศผลสอบเนติบัณทิต

นายรวิน ถกลวิโรจน์ นักเรียนเก่าสวนกุหลาบ จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สอบได้ที่ 1 เป็นเนติบัณทิตเกียรตินิยมคนที่ 4 ของประเทศไทย
ชาบูชาบู เบนเข็มจากวิศวะมานิติศาสตร์ passion สำคัญมาก
===========
เดือนนี้นักเรียนเก่า 4 คน จบการศืกษาชั้นปริญญาเอกจาก MIT ด้วย
=============
ปีนี้เด็กสวนได้เป็นผู้แทนไปแข่งโอลิมปิกระหว่างประเทศ 8 คน หากรวมศิษย์เก่าที่อยู่ในทีมเตรียมอุดม 2 มหิดลวิทย์ 1 จะมี 11 คน
==============
สอบเข้ามหาวิทยาลัยทำกันได้ดีนะ ชาบู
09 มิ.ย. 59 / 01:04
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676979 171.96.172.162 <= 171.96.172.162

#74# - 676987 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] สวนกุหลาบ ลาดกระบัง ต่อ
สิ่งที่ลาดกระบังขาดไปคือ การรวบรวมผลงานของศิษย์เก่าที่ออกไปทำงานสำคัญๆให้ประเทศ
นี่คือข้อมูลที่น้องๆลาดกระบังนำไปใช้ต่อยอดได้ เพียงแค่ใช้ระบบMIS เป็นก็จะหาประวัติศิษย์เก่าได้ทั้งหมด ความมีชีวิตของพระจอมคือตำนานที่ศิษย์เก่าสร้างขื้น มีทั้งข้อมูลศิษย์เก่าจากสวนกุหลาบ เตรียมอุดม เซนต์คาเบรียล บดินทรเดชา ที่ไปเรียนที่ลาดกระบัง หลายคนตำแหน่ง คามรับผิดชอบสูงกว่าที่ระบุไว้ เกรียงไกรนะ
==========
สวนกุหลาบ ลาดกระบัง
นักเรียนสวนกุหลาบไปสร้างชื่อเสียงไว้ที่ลาดกระบังมาก ส่วนใหญ่เรียนวิศวะ ไอที โทรคมนาคม ตอนนี้เป็นผู้จัดการใหญ่บางจาก รองอธิการลาดกระบัง รองประธานของฟูจิ ซีรอกซ์ เป็นซูเปอร์บอร์ด กสทช เป็นผู้กำกับหนังเช่นก้านกล้วย ทำงานเมืองนอกก็เยอะ เป็นผู้จัดการของอเมซอน โนเกียที่เกาหลี ผู้จัดการใหญ่ของโนเกียในประเทศไทย รองประธานด้านIT ของโกลด์แมนแซค ที่อเมริกา เป็นผู้จัดการบริษัทใหญ่ๆหลายแห่งเช่น ดาต้าคราฟท์ SC Asset แอปเปิล แปซิฟิก เนท CEO ของ CAT Telecom คณบดีวิศวะ มหานคร อธิการบดีด้วย เป็นผู้บริหารของทรู เอ ไอ เอส และดีแทค

นักเรียนเตรียมไปลาดกระบังเหมือนกัน แต่มักจะไปสายวิชาการ สวนกุหลาบโดดเข้าสายปฏิบัติการ ธุรกิจเต็มตัว วิชาการก็มี ดังทีเดียว
13 มิ.ย. 59 / 09:45
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676987 171.96.170.143 <= 171.96.170.143

#75# - 676988 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] สร้างเครือข่ายนักเรียนนอก ผู้สร้างนวัตกรรมใหม่ให้ประเทศ
==================
ปีนี้นักเรียนสวนกุหลาบได้เป็นตัวแทนไปแข่งโอลิมปิกระหว่างประเทศ 8 คน ยังมีที่ไปในนามเตรียมอุดม, และมหิดลวิทย์อีก 3 รวม 11 เยอะสุด เป็นแนวนี้มาตั้งแต่ปี 2533

นับแล้วนักเรียนสวนกุหลาบที่ไปแข่งในชื่อสวนกุหลาบระหว่าง 2533-2559 รวม 296 คน ที่ได้ไปเนี่ยได้เหรียญแทบทั้งหมด เมื่อได้เหรียญก็ได้ทุนไปเรียนมหาวิทยาลัยดังๆของโลก เช่น MIT UC Berkeley Harvard

เดือนนี้จบเอกจาก MIT 2คน จบตรี 2คน จบตรีจาก Berkeley จะไปต่อฮาร์วาร์ด 1 คน พวกเรียนสแตนฟอร์ด ม ดังของโลกก็เยอะ สวนกุหลาบจืงมีเครือข่ายนักเรียนนอกที่จบจากมหาวิทยาลัยดังของโลกเยอะมากๆ รวมแล้วไม่น้อยกว่า 400-500 กลุ่มนี้ไปตอนจบ ม6 นับแค่จากปี 2533 เป็นต้นมา

อ้อ ลืมนับพวกที่ได้ทุนไปเรียนจากทุนอื่นๆเช่น กระทรวง ญี่ปุ่น กพ ทุนคิง อีกปีละราว 10 ทุน ปตท พสวท กลุ่มนี้น่าจะราว 300 จำนวนพอๆกันกับกลุ่มโอลิมปิก

ยังมีอีกส่วนหนื่งไปเรียนด้วยทุนส่วนตัวตอนจบ ม6 ไป ม3 ก็มีปีละ
เป็นสิบ การเรียนAFS เป็นที่นิยมกัน เพื่อเอาภาษา พวกไป AFS มักจะไปต่อโทเมืองนอกเป็นเทรดิชั่น

พวกที่เรียนตรีไทยแล้วไปต่อนอกทันที เพียบ

ได้ทุนก็เยอะ ทำโท นักเรียนสวนกุหลาบเป็นเบอร์ต้นๆที่วิศวะ จุฬา

เด็กสวนนิยมเข้าหลักสูตรอินเตอร์ในประเทศมากขื้นเรื่อยๆ ได้ภาษา

ที่นี่ไม่ได้กินบุญเก่ารุ่นพี่ นักเรียนรุ่นหลังๆเก่งกว่าสมัยก่อนเยอะ ได้ทุนมากขิ้น
==============
ต้องสดุดี ครู ผกาวดี ทิพย์ผยอม หัวหน้าห้องกุหลาบเพชร ที่ทำงานมายาวนานอย่างทุ่มเทมาก

การไปเรียนมหาวิทยาลัยระดับโลกเพื่อมาสร้างนวัตกรรมใหม่ให้ประเทศ เทคโนโลยี่ใหม่ เช่น งานด้านอวกาศ Cloud Big data Robot แบตเตอรีเก็บพลังงาน AI ขนส่งระบบราง วิศวชีวภาพ Finn Tech E payment E commerce หิมะบนหิมาลัย พายุ น้ำ ฝน วิศวเอนเทอร์เทนเมนท์ โทรคมนาคมระบบใหม่

อาชีพใหม่ที่เกี่ยวข้องจะเกิดตามมาอีกมากมาย การสร้างอาชีพใหม่ให้คนไทยรุ่นต่อไป ต้องประสานทุนตลาดหลักทรัพย์ ภาษา และความรู้เหล่านี้เข้าด้วยกัน สวนกุหลาบมีศิษย์เก่าที่บริหาร สร้าง บริษัทในตลาดราว 50 แห่ง

เดินตามแนวรุ่นพี่ยุคก่อน

พวกเรียนเกท แนวโน้มต่อโทหมด

ห้องธรรมดา ห้องศิลปก็เหมือนกัน มันเป็นแฟชั่นโรงเรียน
13 มิ.ย. 59 / 10:36
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676988 171.96.170.143 <= 171.96.170.143

#76# - 676990 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] ห้อง 604 ปี 2559 มี 29 คน
แพทย์ 15 > ศิริราช 6 จุฬา 2 มศว 1 มธ 2 มช 1 รามา2 วชิระ 1
วิศวะ 10> จุฬา 7 เกษตร 2
บัญชี 2> จุฬา 1 เกษตร 1
ทันตะ จุฬา 1
นิติ จุฬา 1
วิทยา จุฬา 1
ทุนต่อต่างประเทศ 1

ห้องนี้คือ 604 หนื่งในห้องเกท ยังมีห้องกิฟท์แมท กิฟท์ไซนส์ ห้องคิง

ปีนี้ลองจดไว้ที่นี่
13 มิ.ย. 59 / 18:17
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 676990 171.96.170.143 <= 171.96.170.143

#77# - 677001 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] Lead yourself before you lead others
.
.

เมื่อสัปดาห์ที่แล้วในคลาส ABC วันนี้ได้แขกพิเศษอย่าง อ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ CEO ของ Q House และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม มาเป็นผู้บรรยายให้ อาจารย์ชัชชาติพูดอะไรหลายเรื่องที่น่าสนใจมากทั้งเรื่องส่วนตัวและเรื่องงาน เรียกว่าจดกันไม่ทันเลยครับ แต่เรื่องที่ผมจะขอยกมาเขียนในวันนี้คือเรื่องของ leadership ครับ

.
มุมมองเกี่ยวกับภาวะความเป็นผู้นำของท่านน่าสนใจมากครับ
.
ท่านบอกว่าความเป็นผู้นำของเราไม่ใช่ตำแหน่งที่เรามีแต่มันสะท้อนถึงทัศนคติของเราตั้งแต่เด็กจนโต
.
อย่าง leadership ของ Nelson Mandela ที่พีคสุดๆตามความเห็นของท่านก็ไม่ใช่ตอนได้โนเบลหรือเป็นประธานาธิบดี
.
แต่เป็นตอนที่ติดคุกอยู่ 27 ปีต่างหาก
.
ตอนที่ติดคุกอยู่ 27 ปีแต่ Nelson Mandela ยังคงเชื่อในสิ่งที่ตัวเองคิดว่าถูกต้อง และยึดมั่นอย่างไม่ลดละไม่ว่าตัวเองจะลำบากแค่ไหน นั่นแหละคือ true leadership เพราะมันคือการ lead yourself
.
Leadership คือการ lead ตัวเองให้ได้ก่อนที่จะ lead คนอื่น
.
Lead yourself before your lead others
.
อาจารย์ชัชชาติตั้งคำถามว่าอะไรคือคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของการเป็นผู้นำ?
.
ถ้าให้เลือกข้อเดียว มันคือความเป็น futuristic คือสามารถคาดการณ์อนาคตได้
.
อาจารย์ยก quote ของนักฮอกกี้ชื่อดังอย่าง Wayne Gretzky ที่ว่า
.
I skate to where the puck is going to be, not where is has been
.
“ผมจะสเก็ตไปยังจุดที่ลูกฮอกกี้จะไป ไม่ใช่จุดที่มันเคยอยู่”
.
ความสามารถในการมองเห็นอนาคตนี่เองที่เราได้เห็นผู้นำในโลกนี้อย่าง Elon Musk ที่กล้าลุกขึ้นมา disrupt การทำธุรกิจแบบเดิมๆ จนกระทั่งเกิดคลื่นแห่งความเปลี่ยนแปลงที่กระทบกับชีวิตคนทั่วโลกได้
.
อาจารย์กล่าวว่าคนเราสามารถเป็นผู้นำที่ดีได้โดยฝึกนิสัย 8 อย่างนี้คือ
.
นิสัยที่ 1 คือนำโดยเป็นตัวอย่าง (lead by example) : การนำโดยเป็นตัวอย่างคือสิ่งที่เราเรียกว่า walk the talk คือผู้นำต้องพูดแล้วทำด้วย อย่างโครงการของ Q House มี 88 โครงการ เวลาเสาร์อาทิตย์ อ ชัชชาติ จะลงไปสุ่มตรวจโดยไม่บอกลูกน้องก่อน การทำแบบนี้บ่อยๆทำให้ลูกน้องตื่นตัวและรู้ว่าหัวหน้าสนใจอยู่ตลอดเวลา คุณภาพของงานก็จะดีขึ้น
.

นิสัยที่ 2 ตรงเวลา : ลักษณะสี่อย่างของคนที่ตรงต่อเวลาคือ เป็นคนที่คิดและอยู่ในโลกของความจริง/ เป็นคนที่เผื่อเวลาให้ตัวเอง / เป็นคนที่มีการบริหารจัดการที่ดี / เป็นคนที่สามารถรับมือปัญหาต่างๆได้ดี
.
การตรงต่อเวลาเป็นคุณสมบัติขั้นพื้นฐานที่ผู้นำที่ดีต้องมี

.

นิสัยที่ 3 ดูแลสุขภาพ ออกกำลังกาย :
.
อ ชัชชาติวิ่งและออกกำลังกายเป็นประจำ จริงๆการออกกำลังการนอกจากจะทำให้สมองปลอดโปร่งแล้วยังเป็นการแสดงถึงวินัยในตัวเองด้วย จึงไม่แปลกที่เราจะเป็นบุคคลที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่มีตารางออกกำลังกายที่ชัดเจน

.

นิสัย 4 มีอารมณ์ขัน
.
ประธานาธิบดี Dwight Eisenhower เคยกล่าวไว้ว่า
.
A sense of humor is part of the art of relationship, of getting along with people, of getting things done.
.
“อารมณ์ขันเป็นส่วนหนึ่งของศิลปะในการเป็นผู้นำ เพื่อจะเข้ากับคนอื่นได้และสามารถทำงานให้สำเร็จ”
.
อย่างในเคสของ อ ชัชชาติ เมื่อ พค 2555 เอแบคโพลล์ทำการสำรวจความคิดเห็ฯประชาชนบอกว่า นายชัชาติ สิธิพันธุ์ นำอันดับหนึ่งของรัฐมนตรีที่โลกลืม คือประชาชนไม่รู้จักร้อยละ 38.1
.
และเรื่องราวก็มาเปลี่ยนด้วยภาพ อ ชัชชาติ ถือถุงแกงไปตักบาตร ภาพนั้นถูกตัดต่อไปอย่างกว้างขวางและ ตัว อ ชัชชาติเองก็เอามาลงในเฟซบุ๊กด้วย ความขำขันของภาพนั้นทำให้คนรู้จักรัฐมนตรีคนนี้มากขึ้นและทลายกำแพงกับคนรุ่นใหมาได้มากขึ้น
.
แฟนเพจเฟซบุ๊กพุ่งจาก 8000 กว่าในเดือน กค 2556 เป็น 600,000 กว่าๆ ในเดือน พค 2557
.
และในปี 2557 Google Trend จัดลำดับคำค้นหาคนดังประจำปีฝ่ายชายมากที่สุดลำดับหนึ่งให้ อ ชัชชาติ โดยมี หญิงลี รั้งอันดับหนึ่งของฝ่ายหญิงไป

.
จากรัฐมนตรีโลกลืมกลายเป็นคนที่มีคน search หามากที่สุด

.
นิสัย 5 หาความรู้อย่างไม่หยุดหย่อน ( willing to learn)
.
ประธานธิบดี John F. Kennedy กล่าวไว้ว่า
.
Leadership and learning are indispensable to each other.
.
การเป็นผู้นำและการเรียนรู้ เป็นสิ่งที่ขาดกันไม่ได้
.
อ ชัชชาติเป็นคนอ่านหนังสือเยอะมากๆและหลายครั้งการ form การตัดสินใจก็มาจากการตกผลึกจากหนังสือเหล่านี้นั่นเอง
.
Stay Hungry , Stay Foolish คือเป็นสุดยอดของคุณสมบัติแห่งความเป็นผู้นำ
.
ข้อ 6 วินัย : วินัยคือสิ่งที่สำคัญมากสำหรับผู้นำทุกคน
.
ลี กวน ยู กล่าวไว้ว่า
.
If you want to reach your goals and dreams, you cannot do it without discipline.
.
“ถ้าคุณอยากจะไปถึงจุดหมายและความฝัน คุณจะขาดระเบียบวินัยไม่ได้”
.
ข้อ 7 ต้องยอมรับว่าไม่รู้ (Admit you don’t know) :
.
อย่ากลัวที่จะถามหรือขอความช่วยเหลือ มันไม่ใช่การแสดงออกซึ่งความอ่อนแอ แต่มันแสดงถึงความกล้า กล้าที่จะยอมรับว่าไม่รู้ และมันเป็นทางที่จะทำให้เราได้เรียนรู้อะไรใหม่ๆ
.
นิสัยที่ 8 Communicate Clearly
.
ผู้นำต้องเข้าใจเรื่องและสามารถถ่ายทอดให้ได้ดีมากๆ เพราะการที่คุณไม่สามารถอธิบายมันให้ง่ายๆได้แปลว่าคุณยังไม่เข้าใจมันดีพอ
.
ยกตัวอย่างเช่น TED Talk คนที่ขึ้นมาพูดสามารถพูดเรื่องอะไรก็ได้ยากแค่ไหนก็ได้ แต่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจได้ใน 18 นาที นี่คือความสามารถของผู้นำที่ดี

.

อ ชัชชาติยังกล่าวถึง Jar of Life
.
อันได้แก่ หลักการในการดำเนินชึวิตของเรา
.
ชีวิตของเราเหมือน โถแก้ว ที่จะใส่ ก้อนหิน กรวด หรือทรายลงไปก็ได้
.
สำหรับอาจารย์ครอบครัวและสุขภาพเหมือนหินก้อนใหญ่ ซึ่งสำคัญกว่าเรื่องงานด้วยซ้ำ
.

ถ้าใส่ทรายเข้าไปก่อน มันก็ไม่มีที่เหลือสำหรับหินก้อนใหญ่ๆ
.
หลักการคือเอาหินก้อนใหญ่ใส่ลงไป
.
เข้าเอากรวดใส่ไป
.
ส่วนทรายหรือเรื่องไร้สาระเนี่ยมันมีที่ไปอยู่แล้ว ไม่ต้องห่วง
.
เพราะฉะนั้นเราต้อง define หินของเราให้ชัด

.
คนที่บอกว่าไม่มีเวลาดูแลสุขภาพแปลว่าเรามองเห็นสุขภาพเป็นทราย

.
ผู้นำที่สุดยอดของโลกล้วนมี Jar of Life ที่ไม่เหมือนคนอื่น
.
เพราะเขามองเห็น หิน กรวดและทรายที่ชัดเจน

.
วันนี้ลองกลับบ้านไปแล้วถามตัวเอง
.
.
ก้อนหินของเราคืออะไรกันแน่
29 ก.ค. 59 / 21:41
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 677001 171.96.170.213 <= 171.96.170.213

#78# - 677030 [icon-addtodelete : 101 bytes]
[member icon] http://www.suanboard.net/view.php?p=view&kid=69117
28 ก.ย. 60 / 21:55
0 0
jaguar [icon smile : 92 bytes] (6859) : n/a : n/a : n/a
followup id 677030 171.101.73.151


กระทู้นี้ต้องล็อกอินก่อนแสดงความคิดเห็นครับ

[icon login : 178 bytes]